Page 68 - ภาพนิ่ง 1
P. 68

62   วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก         ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2555





             ต่างกันที่แหล่งกำเนิด  สี  ขนาด  รูปร่าง ชะลุกะ, ชัลลุกะ, ชัลลุกา น. ปลิง.
             ลักษณะ และรส เช่น ขี้เหล็กทั้ง 2 จันทน์ทั้ง  ชะโลม ดู ชโลม.

             2 เปล้าทั้ง 2 เกลือทั้ง 2 รากมะปรางทั้ง 2.   ชัน   น. ยางไม้ ชันที่ใช้เป็นยา เช่น ชันตะ
          เจือ   ก. นำส่วนน้อยประสมลงไปในส่วนมาก        เคียนตาแมว. (อ. resin).
             ให้ระคนปนกัน, ตามปรกติใช้กับของเหลว  ชันน้ำมัน  น.  ยางไม้ที่มีส่วนผสมของน้ำมัน

             เช่น ใช้น้ำเย็นเจือน้ำร้อน, เจือแทรก ก็เรียก.   หอมหรือน้ำมันระเหยง่าย  เช่น  ยางสน
          เจือแทรก ดู เจือ.                             (turpentine),  กำยาน  (benzoin).  (อ.
          ฉกาลวาโย [ฉะกาละวาโย] น. ธาตุลม 6 ประการ      oleoresin).

             ได้แก่ ลมพัดตั้งแต่ปลายเท้าถึงศีรษะ (อุท ชำระ ก. ชะล้าง ล้าง ดังคัมภีร์ธาตุวิภังค์ [1/130]
             ธังคมาวาตา) ลมพัดตั้งแต่ศีรษะถึงปลายเท้า   ตอนหนึ่งว่า “… ถ้าจะแก้ให้เอารังมดแดงรัง

             (อโธคมาวาตา) ลมพัดในท้องแต่พัดนอกลำไส้     1 ใบมัดกา 1 เทียนดำ 1 สมอเทศ 1 ราก
             (กุจฉิสยาวาตา) ลมพัดในลำไส้และกระเพาะ      ตองแตก 1 ยาทั้งนี้เอาสิ่ง 1 ตำลึง ศีศะหอม
             อาหาร (โกฏฐาสยาวาตา) ลมพัดทั่วสรีระ        1 ตำลึง 1 บาท ขมิ้นอ้อยยาวองคุลี 1 ต้ม 3

             กาย (อังคมังคานุสารีวาตา) และลมหายใจ       เอา 1 แทรกดีเกลือตามธาตุหนัก เบา ชำระ
             เข้าออก (อัสสาสะปัสสาสะวาตา). (มาจากคำ     บุพโพร้ายเสียก่อน ...”.
             ฉ แปลว่า หก, กาล แปลว่า เวลา กับ วาโย  ช้ำรั่ว  น.  โรคทางเดินปัสสาวะและอวัยวะ

             แปลว่า ลม).                                สืบพันธุ์กลุ่มหนึ่ง  เกิดกับผู้หญิง  ผู้ป่วยมี
          ชลาพุช,  ชลาพุชะ  [ชะลาพุชะ]  น.  สัตว์ที่    อาการปวดแสบปวดร้อนภายในช่องคลอด

             เกิดในครรภ์ และคลอดออกมาเป็นตัว เช่น       และช่องทวารเบา กลั้นปัสสาวะไม่อยู่ เจ็บ
             คน  โค  ช้าง,  เขียนว่าชลามพุช  หรือ       และขัดถึงบริเวณหัวหน่าว ตำราการแพทย์
             ชลามพุชะ ก็มี.                             แผนไทยว่า อาจเกิดจากสาเหตุ 4 ประการ

          ชลามพุช,  ชลามพุชะ  [ชะลามพุชะ]  ดู           ได้แก่ 1) เกิดจากการคลอดบุตร แล้วอยู่ไฟ
             ชลาพุช, ชลาพุชะ.                           ไม่ได้  ทำให้เสมหะ  โลหิตเดินไม่สะดวก
          ชโลม  ก.  ทำให้เปียกชุ่ม  ในทางการแพทย์       มดลูกเน่า 2) เกิดจากการมีเพศสัมพันธ์มาก

             แผนไทย ใช้ผ้าชุบน้ำยาแล้วเช็ดตัวให้เปียก   เกินไป 3) เกิดจากฝีในมดลูก ทำให้มีหนอง
             เช่น ชโลมยา ชโลมน้ำ ดังคัมภีร์ประถมจินดา   หรือน้ำเหลืองไหลออกมา และ 4) น้ำเหลือง

             [1/181] ตอนหนึ่งว่า “... ถ้าให้ร้อนยาขนาน  ที่เกิดจากทางเดินปัสสาวะอักเสบไหลออกมา
             นี้ท่านให้เอา ใบไซรย้อย ใบญ่าแพรก ใบพรม    ทำให้เกิดแผลเปื่อยลามที่ทวารเบา ปัสสาวะ
             มิ ใบตำลึง ดินประสิวขาว ศริยา 5 สิ่งนี้บด  ไหลกะปริบกะปรอย ปวดแสบ ขัดหัวหน่าว

             ละลายน้ำซาวเข้าชะโลมหาย กินก็ได้ใช้มา      ตำรายาศิลาจารึกในวัดพระเชตุพนวิมล-
             มากแล้ว ...”, เขียนว่า ชะโลม ก็มี.         มังคลาราม      ว่าสาเหตุหลังนี้เกิดจาก
   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73