Page 67 - ภาพนิ่ง 1
P. 67

Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine   Vol. 10 No. 1 January-April 2012   61





          จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร น. 1.     พร้อมสรรพคุณทางยา พิกัดสมุนไพร วิธีปรุง
             ตำราการแพทย์แผนไทยประเภทที่สลักลงบน        เครื่องยา  และวิธีใช้ยา  เป็นต้น  กับได้ทำ

             แผ่นหินอ่อนสีเทา รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ขนาด  ดรรชนีรวมเรื่องไว้ท้ายเล่มด้วย ส่วนการจัด
             กว้างยาวด้านละ 33 เซนติเมตร เท่ากันทุก     ลำดับเรื่องนั้น ยังคงจัดตามลำดับแผ่นจารึก
             แผ่น แต่ละแผ่นมีอักษรสลักด้านเดียว จัด     ซึ่งติดประดับอยู่ที่ผนัง โดยเริ่มจากศาลาราย

             เรียงบรรทัดตามมุมแหลม  จำนวน  17           หน้าพระอุโบสถด้านซ้ายไปขวานับเป็นจารึก
             บรรทัด เหมือนกันทุกแผ่น มีเนื้อหาว่าด้วย   แผ่นที่ 1 ถึง แผ่นที่ 8 ต่อไปเริ่มแผ่นที่ 9 ที่
             แผนนวด แผนปลิง โรคที่พบบ่อย ๆ พร้อม        ระเบียงมุมซ้ายด้านหน้าพระวิหารพระพุทธ

             ตำรับยาแก้  เป็นต้น  ตำรานี้  จัดทำขึ้น    ไสยาสน์ เรียงไปทางขวา วนรอบพระวิหาร
             ประมาณ พ.ศ. 2364 โดยพระบาทสมเด็จ           ถึงแผ่นที่ 50 ...”.

             พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งดำรงพระ จำหระ  น.  แถบ  ซีก  (ใช้กับร่างกาย)  เช่น
             อิสริยยศเป็นพระเจ้าลูกยาเธอ  กรมหมื่น      จำหระเบื้องซ้าย จำหระเบื้องขวา, ตำหระ ก็
             เจษฎาบดินทร์ โปรดเกล้าฯ ให้จัดทำไว้ แล้ว   เรียก.

             ติดประดับอยู่ที่ผนังด้านนอกของระเบียงพระ ตำหระ ดู จำหระ.
             วิหารพระพุทธไสยาสน์ และที่ผนังศาลาราย จิตรมหาวงษ์  [จิดมะหาวง]  น.  ยาแผนไทย

             หน้าพระอุโบสถ เดิมมี 92 แผ่น ปัจจุบัน      ขนานหนึ่ง  ใช้แก้ปากเปื่อย  ลิ้นเปื่อย  คอ
             เหลือเพียง 50 แผ่น. 2. หนังสือเกี่ยวกับการ  เปื่อย มีตัวยา วิธีปรุง วิธีใช้ และสรรพคุณ ดัง
             แพทย์แผนไทยฉบับหนึ่ง มี 452 หน้า พิมพ์ที่  คัมภีร์ธาตุวิภังค์ [1/141] ตอนหนึ่งว่า “… ยา

             บริษัทอาทิตย์ โพรดักส์ กรุ๊ป จำกัด โดยกรม  ชื่อจิตรมหาวงษ์ แก้ฅอเปื่อย ลิ้นเปื่อย ปาก
             ศิลปากรได้จัดพิมพ์เผยแพร่เมื่อ พ.ศ. 2545   เปื่อย แลแก้ไอ ท่านให้เอารากมะกล่ำต้น 1
             เพื่อเฉลิมพระเกียรติคุณพระบาทสมเด็จพระ     รากมะกล่ำเครือ 1 รากมะขามป้อม 1 เนระ

             นั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว และอนุรักษ์ ฟื้นฟูตำรา  ภูสี 1 เขากวาง 1 เขากุย 1 นอแรด 1 งาช้าง
             การแพทย์แผนไทยให้แพร่หลาย ทั้งนี้ใน        1 จันทน์ทั้ง 2 น้ำประสารทองสตุ 1 ยาทั้งนี้
             หนังสือเล่มนี้มีเนื้อหาสำคัญดังที่อธิบายใน  เสมอภาคทำแท่งไว้ ละลายน้ำผึ้งทา หาย แล

             ความนำตอนหนึ่งว่า “... การจัดพิมพ์ได้ทำ    …”.
             ตามวิธีการอ่านจารึก โดยวิธีการคัดถ่ายถอด จุกอก น. อาการเจ็บแน่นในทรวงอก.

             อักษรเป็นคำจารึกด้วยอักษรไทยปัจจุบัน  จุนสีสะตุ  น.  จุนสีที่ปราศจากน้ำผลึกใน
             และทำคำอ่านจารึกพร้อมด้วยคำอธิบาย          โมเลกุล มีสีขาว โบราณเตรียมโดยนำไปตาก
             ศัพท์ในจารึก ซึ่งส่วนใหญ่เป็นศัพท์เฉพาะ    แดดไว้จนสีซีดและขาวในที่สุด.

             ด้านการแพทย์แผนไทย เกี่ยวกับชื่อโรค ชื่อ จุลพิกัด น. พิกัดตัวยาน้อยอย่าง เรียกชื่อตรง
             สมุฏฐาน และอาการของโรค ชื่อสมุนไพร         ตามตัวยานั้น มักเป็นตัวยาเดียวกัน แต่แตก
   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72