Page 65 - ภาพนิ่ง 1
P. 65

Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine   Vol. 10 No. 1 January-April 2012   59





             1  ศอก  เมื่อยกไม้หลักออกจะมีน้ำใส  ๆ      เนื้อเน่าเปื่อย เช่น งูกะปะ. (มาจากคำ ปูติ
             ซึมออกมาในหลุมปัก ตักน้ำใส ๆ นั้นออก       แปลว่า เน่า, มุข แปลว่า ปาก).
             มาใช้ โดยทั่วไปก่อนใช้มักใช้เหล็กสรรพคุณ   จตุกาลเตโช [จะตุกาละเตโช] น. ธาตุไฟ 4 ประการ

             เผาไฟให้ร้อนแดง จุ่มลงไปในน้ำนั้น เอาขึ้น    ได้แก่ ไฟย่อยอาหาร (ปริณามัคคี) ไฟที่ทำให้
             ทันที แล้วจึงนำน้ำนั้นไปใช้เป็นน้ำกระสายยา     ร้อนภายใน (ปริทัยหัคคี) ไฟที่เผาร่างกายให้

             ดังคัมภีร์ประถมจินดา [1/348] ตอนหนึ่ง      แก่คร่ำคร่า (ชิรณัคคี) และไฟที่ทำให้ร่างกาย
             ว่า “... ถ้าจะแก้ละอองพระบาทสีฃาวละลาย     อบอุ่น (สันตัปปัคคี). (มาจากคำ จตุ แปลว่า
             น้ำดอกไม้กวาด ถ้าจะแก้ละอองพระบาทสี        สี่, กาล แปลว่า เวลา กับ เตโช แปลว่า ไฟ).

             เฃียว ละลายน้ำครำแลสุรากวาด ฯ ถ้าจะแก้     จะโปง ดู จับโปง.
             ละอองพระบาทสีแดง  ละลายน้ำหัวหอม จับโปง น. โรคชนิดหนึ่ง ทำให้มีอาการปวดบวม

             กวาด  ถ้าจะแก้ละอองพระบาทสีเหลือง          ตามข้อ มีน้ำใสในข้อ โดยเฉพาะข้อเข่า และ
             ละลายน้ำขมิ้นอ้อยกวาดหายดีนัก ...”. 2.     ข้อเท้าแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ จับโปงน้ำ
             นํ้าเสียที่ขังอยู่ในพื้นดินที่เป็นแอ่ง เช่น ใต้ถุน  และจับโปงแห้ง ดังคัมภีร์ตักกศิลา [2/96]

             ครัว ในท่อระบายน้ำเสีย, ไขเสนียด หรือ น้ำ  ตอนหนึ่งว่า “... ถ้าแลให้เจบทั่วสารพางค์
             ไขเสนียด ก็เรียก.                          แลให้ท้องแขงเปนดานให้แก้รอบสดือ ชื่อว่า

          ไข้หัวลม ดู ไข้เปลี่ยนฤดู. (โบราณมักใช้เรียก   ลมอันตคุณก็ว่า ถ้าแลให้เสียดเข่าชื่อว่าลมจะ
             ไข้เปลี่ยนฤดูที่เกิดในช่วงปลายฤดูฝน ต้นฤดู  โปงสะคริวก็ว่า ...”, จะโปง ลมจับโปง หรือ
             หนาว).                                     ลมจะโปง ก็เรียก.

          งัดเส้น ดู ดึงเส้น.                        ลมจับโปง ดู จับโปง.
          ดึงเส้น  ก.  ใช้นิ้วมือกดลงบนกล้ามเนื้อหรือ  จับโปงน้ำ น. จับโปงชนิดหนึ่ง มีการอักเสบ
             เส้นเอ็นตามร่างกายแล้วดึงขึ้น, งัดเส้น จก   รุนแรงของข้อเข่า หรือข้อเท้า ทำให้มีอาการ

             หรือ จกงัด ก็เรียก.                        ปวด บวม แดง ร้อน และอาจมีไข้ร่วมด้วย
          จก, จกงัด ดู ดึงเส้น.                         จึงมักเรียกว่า ไข้จับโปง. ดู จับโปง ประกอบ.
          งูทับทางขาว ดู งูทับสมิงคลา.               จับโปงแห้ง น. จับโปงชนิดหนึ่ง มีการอักเสบ

          งูทับสมิงคลา [-ทับสะหฺมิงคฺลา] น. งูพิษชนิด    เรื้อรังของข้อเข่า หรือข้อเท้า ทำให้มีอาการ
             Bungarus candidus (Linnaeus) ในวงศ์        บวมบริเวณข้อเล็กน้อย. ดู จับโปง ประกอบ.

             Elapidae หัวสีดํา ตัวมีลายเป็นปล้องสีดํา จักร์ทราสูนย์ ดูใน นาภี.
             สลับขาว เขี้ยวพิษผนึกแน่นกับขากรรไกรบน  จักราศูนย์, จักราสูรย์ ดูใน นาภี.
             ขยับหรือพับเขี้ยวไม่ได้ ตัวยาวประมาณ 1  นาภี น. 1. สะดือ. 2. ท้อง, อุทร ก็เรียก. 3. บริเวณ

             เมตร, งูทับทางขาว ก็เรียก.                 รอบสะดือ (ตามหลักวิชานวดไทย), จักรา
          งูปูติมุข  น.  งูจำพวกหนึ่งที่เมื่อกัดแล้วทำให้   ศูนย์ จักราสูรย์ หรือ จักร์ทราสูนย์ ก็เรียก.
   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70