Page 225 - Acrobat J Trad-21-3-2566
P. 225

708 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 21  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2566




           เป็นต�าราแพทย์ของไทย และต�าราสมุนไพรพื้นบ้าน        2.1.1  ก�าหนดเกณฑ์การคัดเลือกต�ารับยา
           หนังสือเหล่านี้เดิมมีการจัดกระจายอยู่ตามที่ต่าง ๆ   ขั้นต้นดังต่อไปนี้

           ท�าให้ฉบับไม่ครบและคลาดเคลื่อน จึงได้จางวางกรม          (1)   ค�าที่สืบค้นใช้แทนกลุ่มอาการหรือ
           แพทย์เป็นกองทัพจัดหารวบรวม ช�าระสอบสวนต�ารับ  การรักษากลุ่มอาการโรคกล้ามเนื้อและกระดูกต�ารับ
           คัมภีร์แพทย์ที่ใช้กันอยู่ในขณะนั้นให้ถูกต้องดี  ยาแผนไทย แบ่งออกเป็นดังนี้

                (7) ต�าราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเวชกรรม            l  ปวด เช่น ปวดขบในเส้น ปวดเมื่อย
                 [10]
           เล่ม 1  เป็นการรวบรวมจากต�าราที่กระทรวง     ขบ
           สาธารณสุขรับรองจ�านวน 5 เล่ม ได้แก่ ต�าราเวชศึกษา           l  เมื่อย เช่น เมื่อยร่างกาย เมื่อยไปทุก

           ของพระยาพิษณุประสาทเวช, ต�าราแพทย์ศาสตร์    เส้นทุกเอ็น
           สงเคราะห์ฉบับหลวง, ต�าราคัมภีร์แพทย์แผนโบราณ            l  เจ็บ เช่น เจ็บในข้อในกระดูก เจ็บสัน
           ของ ขุนโสภิตบรรณาลักษณ์, ต�าราแพทย์ศาสตร์   หลังแลกระดูก

           สงเคราะห์, ต�าราเวชศึกษาและต�าราประมวลหลักเภสัช           (2)   ค�าสืบค้นที่มีความหมายในการ
           ของโรงเรียนแพทย์แผนโบราณ (วัดพระเชตุพนฯ) และ  รักษาอาการเกี่ยวกับกล้ามเนื้อและกระดูกของต�ารับ

           ต�าราอื่น ๆ ที่มีอยู่ น�ามาเรียบเรียงเนื้อหาให้มีความ  ยาแผนไทยในโรคอื่น ๆ เช่น เส้นกระด้าง เส้นตึงแข็ง
           เหมาะสมครบถ้วน จัดเป็นหมวดหมู่ตามล�าดับความ  ยอก ปัฏฆาต กระดูกพิการ อัฐิ หัก ซ้น เคล็ด จะโปง
           ส�าคัญของเนื้อหาเพื่อน�ามาปรับใช้ในการเรียนการ  จับโปง ชักหัวเข่าขัดเข่าแลน่องคู้ลมในเส้น ลมใน

           สอนแพทย์แผนไทยทั่วไปของกระทรวงสาธารณสุข     กระดูก ฟกบวมข้อ
                (8) ต�าราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเวชกรรม        2.1.2  ก�าหนดเกณฑ์การคัดเลือกต�ารับยาที่

                 [11]
           เล่ม 2  เป็นการรวบรวมจากต�าราที่กระทรวง     มีศักยภาพในการน�ามาพัฒนาต่อ โดย
           สาธารณสุขรับรองต่อจากต�าราแพทย์แผนโบราณ              (1) เลือกต�ารับยาใช้ภายนอกที่มีรูปแบบ
           ทั่วไป สาขาเวชกรรม เล่ม 1 โดยมีที่มาต่อเนื่องกันเพื่อ  การใช้ เป็นการทา ชโลม พอกหรือยาใช้ภายนอก

           ให้ข้อมูลต�ารายาที่ครอบคลุมจึงเลือกต�ารายาทั้งหมด          (2) เลือกต�ารับที่มีองค์ประกอบในต�ารับ
           นี้มาใช้ในการวิเคราะห์ควบคู่กัน             ทุกตัวเป็นเครื่องยาที่ทราบแหล่งที่มาชัดเจน
                                                                (3) เลือกต�ารับยาที่มีเครื่องยาตาม ข้อ
           2.  วิธีก�รศึกษ�                            (2) และง่ายต่อการจัดหา มีความพร้อมเชิงแหล่ง

                2.1  การก�าหนดเกณฑ์เพื่อคัดเลือกต�ารับ   วัตถุดิบ
           ยา [12-13]                                      2.2 การบันทึกข้อมูล

                คัดเลือกต�ารับยาจากค�าที่แสดงในอาการ การ     ต�ารับยาที่ผ่านเกณฑ์การคัดเลือกในโปรแกรม
           รักษา ที่เกี่ยวข้องกับโรคกล้ามเนื้อและกระดูกมา  Microsoft excel โดยการบันทึกข้อมูลจะแบ่งออก

           วิเคราะห์และรวบรวมต�ารับยาในกลุ่มอาการโรคกล้าม  เป็น 2 ตารางหลัก ได้แก่ ตารางฐานข้อมูลต�ารับยา และ
           เนื้อและกระดูก                              ตารางฐานข้อมูลเครื่องยาในต�ารับนั้น ๆ แต่ละตาราง
   220   221   222   223   224   225   226   227   228   229   230