Page 228 - Acrobat J Trad-21-3-2566
P. 228

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 21  No. 3  Sep-Dec  2023  711




            (Table 2)                                   ตัวในต�ารับยาใช้ภายนอก ซึ่งมีการวิเคราะห์แยกระดับ
                 จากการคัดเลือกต�ารับยาและคัดกรองข้อมูล  การหายากง่ายของเครื่องยาทุกตัวในแต่ละต�ารับเพื่อ

            ในส่วนต�ารับยาที่มีความซ�้าซ้อนขององค์ประกอบ   หาต�ารับยาที่ผ่านเกณฑ์ที่ก�าหนดโดยมีการจัดกลุ่ม
            ต่าง ๆ ท�าให้มีต�ารับยาที่ผ่านการคัดกรองคงเหลือ 250   เครื่องยาทุกตัวในต�ารับ พบว่า ต�ารับยาที่มีเครื่องยา
            ต�ารับ โดยมีการจ�าแนกรูปแบบของต�ารับยาบ�าบัดกลุ่ม  ที่ไม่สามารถหาได้และไม่ทราบแหล่งที่มาที่ชัดเจน

            อาการกล้ามเนื้อและกระดูกออกเป็น 10 รูปแบบ โดย  (D) มีทั้งหมด 18 ต�ารับ ในส่วนต�ารับยาที่มีเครื่องยา
            รูปแบบยาที่พบมากที่สุดคือยาผง 79 ต�ารับ รองลงมา  ที่สามารถหาได้ง่ายแต่ไม่ทราบแหล่งที่มาที่ชัดเจน (B)
            คือ ยาต้ม 62 ต�ารับ และยาปั้นแท่ง 45 ต�ารับ ซึ่งทั้ง  และ/หรือ ต�ารับยาที่เครื่องยาไม่สามารถหาได้แต่ทราบ

            สามรูปแบบนี้ส่วนใหญ่จัดอยู่ในรูปแบบยาชนิดรับ  แหล่งที่มาที่ชัดเจน (C) ปรากฏอยู่ในต�ารับมี 16 ต�ารับ
            ประทาน ปรากฏอยู่ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมล  (Table 5)
            มังคลารามเพราะเป็นต�าราที่มีต�ารับยามากที่สุด ส่วน     ต�ารับยาที่ผ่านเกณฑ์การคัดเลือกโดยคัดจาก

            รูปแบบยาที่น้อยที่สุดคือ ยานัตถุ์ และขี้ผึ้ง มีอย่าง  ต�ารับยาที่มีส่วนประกอบเครื่องยาทุกตัวเป็นเครื่องยา
            ละ 2 ต�ารับ โดยทั้ง 2 รูปแบบจัดอยู่ในศิลาจารึกวัด  ที่สามารถหาได้ง่าย (A) และพบแหล่งที่มาที่ชัดเจน (A)

            พระเชตุพนวิมลมังคลาราม (Table 3)            พบว่า มีทั้งหมด 10 ต�ารับ ได้แก่ ยาทาพระเส้น, ยาแก้
                 ในส่วนรูปแบบยาแต่ละประเภทมีวิธีการใช้   ลมปะกัง, ยาแก้ลมขึ้นแต่หัวแม่เท้า, น�้ามันมหาจักร,
            กระบวนการปรุงยา และองค์ประกอบต่าง ๆ ที่แตก  WP438/01, WP334/05, WP334/04, WP334/01,

            ต่างกันแต่ก็จะมีการแยกรูปแบบการใช้ออกอย่าง  WP333/03 และWP205/01 โดยต�ารับที่มีเครื่องยา
            ชัดเจนเพื่อให้น�าไปใช้ได้ถูกวิธี โดยรูปแบบวิธีการใช้  มากที่สุดคือ ยาทาพระเส้น มีเครื่องยาทั้งหมด 14 ชนิด

            ยาต่าง ๆ (Table 4) มีรูปแบบการใช้ยาทั้งหมด 9 รูป  รองลงมา คือน�้ามันมหาจักร มี 10 ชนิดและต�ารับยา
            แบบ รูปแบบการใช้ที่มีมากที่สุด คือการรับประทาน   ที่น้อยที่สุดคือ WP334/05 มีเครื่องยา 3 ชนิด ราย
            199 ต�ารับ รองลงมาคือการทา 23 ต�ารับ โดยต�ารับยาที่  ละเอียดต�ารับยาทั้ง 10 ต�ารับ (Table 6)

            ต้องผ่านตามเกณฑ์คือต�ารับที่เป็นรูปแบบใช้ภายนอก     Table 6 แสดงรายละเอียดของต�ารับยาที่ผ่าน
            มีทั้งหมด 8 รูปแบบ ได้แก่ ต�ารับที่ใช้รับประทานก็ได้  เกณฑ์ตามก�าหนด พบว่า ต�ารับยาทั้ง 10 ต�ารับใน
            ทาก็ได้ ต�ารับที่ใช้ชโลม ต�ารับที่ใช้ทา ต�ารับที่ใช้ทาแล้ว  แต่ละต�ารับมีสรรพคุณทางยาที่เกี่ยวข้องกับระบบ

            นวด ต�ารับที่ใช้พอก ต�ารับที่ใช้ประคบ ต�ารับที่ใช้เป่า  กล้ามเนื้อและกระดูกในลักษณะอาการที่แตกต่าง
            หรือสูด และ ต�ารับที่ใช้อาบ โดยมีทั้งหมด 44 ต�ารับ   กันโดยเลือกใช้ตามวัตถุประสงค์ที่เราต้องการรักษา
                 ในบรรดาต�ารับยาที่ใช้ภายนอกจ�านวน 44 ต�ารับ  ต�ารับยาที่มีรูปแบบยาที่สามารถท�าเก็บไว้ใช้ได้และ

            นี้ เมื่อน�าเข้าสู่การวิเคราะห์แยกส่วนประกอบของ  มีการระบุวิธีการปรุงชัดเจน ได้แก่ WP334/01,
                   [14]
            เครื่องยา  ในต�ารับเพื่อเลือกต�ารับที่มีเครื่องยาทุก  WP334/04, น�้ามันมหาจักร และยาทาพระเส้น ทั้ง 4
            ตัวที่จัดอยู่ในระดับการหาได้ง่ายและทราบแหล่งที่มา  ต�ารับนี้สามารถน�าไปพัฒนาต่อยอดในการผลิตต�ารับ
            ที่ชัดเจน (A) โดยมีการจัดประเภทของเครื่องยาแต่ละ  ยารักษาอาการในกลุ่มกล้ามเนื้อและกระดูกไว้ใช้ใน
   223   224   225   226   227   228   229   230   231   232   233