Page 224 - Acrobat J Trad-21-3-2566
P. 224
J Thai Trad Alt Med Vol. 21 No. 3 Sep-Dec 2023 707
ได้ทั้งหมด 8 ต�าราดังนี้ จารึกต�ารายาที่ประดับไว้ยังวัดราชโอรสารามฯ ที่จัด
[3]
(1) ต�าราพระโอสถพระนารายณ์ เป็นต�ารา พิมพ์โดยพิพิธภัณฑ์เภสัชศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์
โบราณที่มีมาแต่ในอดีต ซึ่งต้นฉบับในหอสมุดแห่งชาติ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่น�าเสนอศิลาจารึกต�ารายาฯ
เป็นหนังสือเดิมของพระเจ้าบรมวงษ์เธอ กรมหลวง แผ่นต่าง ๆ ทั้งศิลาจารึกที่มีอยู่ในวัด (50 แผ่น) โดย
วงษาธิราชสนิท พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นไชยนาท วิธีการลอกลายจารึกจากแผ่นศิลาโดยตรง ท�าให้ลด
นเรนทร ต�ารานี้มีต�าราพระโอสถซึ่งหมอหลวงได้ถวาย ความคลาดเคลื่อนของข้อความจารึก รวมถึงมีส�าเนา
[4]
สมเด็จพระนารายณ์มหาราชหลายขนาน ในต�ารานี้ ของศิลาจารึกที่สูญหายอีก 5 แผ่น ปรากฏอยู่ด้วย
[7]
ได้มีการทดสอบมาแล้วในอดีตและกล่าวขานกันว่า (4) คัมภีร์แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ภูมิปัญญา
เป็นยาดี ในการศึกษาครั้งนี้ใช้ข้อมูลจาก “ค�าอธิบาย ทางการแพทย์และมรดกทางวรรณกรรมของชาติเป็น
ต�าราพระโอสถพระนารายณ์ ฉบับเฉลิมพระเกียรติ หนังสือที่กระทรวงศึกษาธิการได้จัดท�าและจัดพิมพ์
72 พรรษามหาราชา 5 ธันวาคม พุทธศักราช 2542’’ เพื่อน้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวายเป็นพระราชสัก
ซึ่งเป็นหนังสือที่ได้ช�าระและให้ค�าอธิบายเนื้อหาต�ารา การะแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเนื่องในมหา
พระโอสถพระนารายณ์ไว้ มงคลสมัยที่ทรงเจริญพระชนมพรรษาครบ 6 รอบ
(2) ต�าราพระโอสถครั้งรัชกาลที่ 2 ใช้ข้อมูลจาก โดยมีคณะกรรมการช�าระคัมภีร์ต่าง ๆ ที่อยู่ในต�ารา
[5]
“ต�าราพระโอสถครั้งรัชกาลที่ 2 ชุดต�าราภูมิปัญญาการ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ในอดีต
แพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์’’ ที่จัดพิมพ์โดยกอง (5) ศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม
[8]
คุ้มครองภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและพื้นบ้าน เป็นต�ารายาที่น�ามาจารึกในแผ่นศิลาติดไว้ในที่ต่าง ๆ
ไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ตามศาลาราย ส�าหรับให้เป็นทาน เล่าสืบกันมาว่าผู้
ซึ่งจัดท�าโดยรวบรวมต�ารับยาทั้ง 86 ต�ารับไว้ควบคู่กับ ถวายต�ารายาต้องสาบานตัวว่า ยาขนานนั้นตนได้ใช้
ต้นฉบับ ที่สมเด็จพระเจ้าบรมวงษ์เธอกรมพระยาวชิร มามีผลดีและไม่ปิดบัง แล้วพระยาบ�าเรอราชแพทยา
ญาณวโรรส สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิร ตรวจอีกทีหนึ่งเห็นว่าดีก็จารึกไว้ ข้อมูลของศิลาจารึก
ญาณวโรรส โปรดให้พิมพ์ครั้งแรกเพื่อช่วยหอพระ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามที่น�าเข้าสู่กระบวนการ
สมุดวชิรญาณ และประทานเป็นของแจกในงานศพ วิจัยนั้นได้จาก “ต�ารายาศิลาจารึกในวัดพระเชตุพน
อ�ามาตย์เอกพระยาประชุมประชานารถ (วัน อมาตยา วิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) พระนคร ฉบับสมบูรณ์’’
นนท์) เมื่อ ปีมะโรงอัฐศก พ.ศ. 2459 ซึ่งสมเด็จพระวันรัต (ปุ่น ปุณฺณสิริ) ได้มีจดหมายถึง
(3) ศิลาจารึกต�ารายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร [6] อาจารย์และผู้ช่วยอาจารย์ใหญ่โรงเรียนแพทย์แผน
จัดเป็นวรรณกรรมส�าคัญทางการแพทย์ของไทย โบราณ ขอให้ทางโรงเรียนฯ ได้จัดการจัดพิมพ์ต�ารา
ร่วมสมัยกับศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ยาในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนฯ และต�าราหมอนวด
โดยใช้ข้อมูลจาก “ประมวลศิลาจารึกต�ารายาวัด ฤๅษีดัดตนเอาไว้ ทั้งนี้ทางโรงเรียนได้ด�าเนินการแล้ว
ราชโอรสาราม ฉบับรวมศิลาจารึก 5 แผ่น ที่ท�าแทน เสร็จและตีพิมพ์เผยแพร่เมื่อปี พ.ศ. 2505
แผ่นที่สูญหาย’’ ซึ่งปริวัตรและจัดท�าขึ้นจากศิลา (6) ต�าราเวชศาสตร์ฉบับหลวง รัชกาลที่ 5 [9]