Page 263 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 21 ฉบับที่ 2
P. 263
J Thai Trad Alt Med Vol. 21 No. 2 May-Aug 2023 479
หนึ่งในส่วนของเภสัชต�ารับโรงพยาบาลในบัญชียา เอกสารอ้างอิง
[32]
จากสมุนไพร พ.ศ. 2554 ในบัญชียาหลักแห่งชาติ 1. ส�านักงานหอพรรณไม้ ส�านักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช. ชื่อพรรณไม้แห่ง
โดยมีข้อบ่งใช้ส�าหรับถอนพิษไข้ แก้ร้อนใน ถอนพิษ
ประเทศไทย เต็ม สมิตินันทน์ (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2557).
เบื่อเมา ในรูปยาแคปซูล กินครั้งละ 500 มิลลิกรัม – 1 กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ส�านักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ; 2557.
กรัม วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร และยาชงขนาดครั้งละ หน้า 558.
2. Department of Medical Sciences, Ministry of Public
2-3 กรัม ชงกับน�้าร้อน 120-200 มิลลิลิตร ดื่มวันละ Health. Thai Herbal Pharmacopoeia Vol 4. Bangkok:
3 ครั้ง ก่อนอาหาร หรือเมื่อมีอาการ โดยไม่แนะน�าให้ Office of National Buddishm Press; 2015
3. United States Department of Agriculture, Agricultural
ใช้ในผู้ที่สงสัยว่าเป็นไข้เลือดออก เนื่องจากอาจบดบัง Research Service, National Genetic Resources Program.
อาการของไข้เลือดออก หากใช้ยาเป็นเวลานานเกิน 3 Germplasm Resources Information Network - (GRIN).
Beltsville (MD): National Germplasm Resources Labora-
วันแล้ว อาการไม่ดีขึ้น ควรปรึกษาแพทย์ ควรระวังการ tory. [Internet] [cited 2011 Aug 25]; Available from: http://
ใช้ในผู้ป่วยโรคเบาหวาน เพราะอาจเกิดภาวะน�้าตาลใน www.ars-grin.gov/cgi-bin/npgs/html/taxon.pl?36609
4. Wikipedia. [Internet] [cited 2011 Aug 25]; Available from:
เลือดต�่า นอกจากนี้ ยังควรระวังการใช้ในผู้ป่วยที่ต้อง http://en.wikipedia.org/wiki/Thunbergia_laurifolia
ใช้ยาอื่นอย่างต่อเนื่องเพราะอาจเร่งการขับยาเหล่านั้น 5. Backer CA, Bakhuizen van den Brink RC. Acanthaceae.
ออกจากร่างกาย ท�าให้ประสิทธิผลของยาลดลง [32] Flora of Java. Vol. 2. Groningen (The Netherlands): Wolt-
ers- Noordhoff N.V; 1965. p.551-3.
2. การปลูกรางจืดควรมีการควบคุมและ 6. Cramer LH. Acanthaceae. In : Dasanayake MD, Clayton
ระมัดระวังไม่ให้แพร่ขยายพื้นที่ออกไป โดยต้องท�า WD, editors. A revised handbook to the Flora of Ceylon.
Vol. 12. Rotterdam: AA Balkema; 1998. p.7-9.
ค้างขนาดใหญ่ให้เกาะ และไม่ปล่อยให้เจริญเติบโต 7. Ridley HN. Acanthaceae. Flora of the Malay Peninsula.
โดยพาดพันบนต้นไม้อื่น หรือปล่อยให้ไปเจริญใน Vol. 2. Great Britain: L. Reeve & Co., Ltd; 1967. p.556-7.
8. ขวัญใจ ตันสุวรรณ. การศึกษาองค์ประกอบเคมีของใบรางจืด
แหล่งธรรมชาติ เพราะรางจืดเป็นไม้เถาโตเร็ว ยาก (Thunbergia laurifolia Lindl.) (วิทยานิพนธ์ปริญญาโท).
แก่การควบคุมการเจริญเติบโต ใบที่ดกจะปกคลุมจน ภาควิชาเคมี, คณะวิทยาศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย; 2526.
ท�าให้พืชข้างล่างไม่ได้รับแสงแดดและตายไป หรือน�้า 9. Oonsivilai R, Cheng C, Bomser J, Ferruzzi MG, Ning-
หนักของเถารางจืดอาจมากจนท�าให้ต้นไม้ที่อยู่ข้างล่าง sanond S. Phytochemical profiling and phase II enzyme-
inducing properties of Thunbergia laurifolia Lindl. (RC)
หักโค่นได้ ประเทศไทยควรเรียนรู้จากบทเรียนของ
extracts. J Ethnopharmacol. 2007;114(3):300-6.
ประเทศออสเตรเลีย ซึ่งน�ารางจืดที่มีดอกสีสวยเข้าไป 10. Kanchanapoom T, Kasai R, Yamasaki K. Iridoid glu-
ปลูกในประเทศเป็นไม้ประดับ แต่ต่อมารางจืดได้ cosides from Thunbergia laurifolia. Phytochemistry.
2002;60(8):769-71.
กลายเป็นวัชพืชที่แพร่ขยายไปในหลายพื้นที่ จนท�าให้ 11. วีระยุทธ จิตผิวงาม. การศึกษาสารประกอบในใบรางจืด
เกิดความเสียหายต่อความหลากหลายทางชีวภาพของ (วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต). สาขาการสอนวิชาเคมี.
เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่; 2522.
พืชประจ�าถิ่นและต่อสิ่งแวดล้อม รางจืดที่เป็นวัชพืช 12. เสงี่ยม พงษ์บุญรอด. ไม้เทศเมืองไทย สรรพคุณของยาเทศและ
เหล่านี้ก�าจัดได้ยากเพราะมีหัว (tuber) ขนาดใหญ่ที่ ยาไทย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์เฟื่องอักษร; 2514. หน้า 465-6.
13. สมาคมโรงเรียนแพทย์แผนโบราณในประเทศไทย ส�านักวัด
แผ่กระจายอยู่ใต้ดิน [33] พระเชตุพนฯ. ประมวลสรรพคุณยาไทย (ภาคสาม) ว่าด้วย