Page 262 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 21 ฉบับที่ 2
P. 262
478 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 21 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2566
กันเป็นหลอด ยาว 3-5 เซนติเมตร ภายในหลอดสีขาว สเตียรอยด์ (steroids) และกรดแอมิโน [11]
ปากหลอดผาย ปลายแยกเป็น 5 แฉก รูปไข่กลับ กว้าง ข้อบ่งใช้ -
3-4 เซนติเมตร ยาว 2-3 เซนติเมตร เกสรเพศผู้ 4 อัน ต�ารายาสรรพคุณยาไทยว่า รางจืดมีรสเย็น
ก้านชูอับเรณูสั้น ติดที่หลอดกลีบดอก จานฐานดอก สรรพคุณถอนพิษเบื่อเมา ปรุงเป็นยาเขียว ส�าหรับ
[12]
เป็นวงรอบ รังไข่เหนือวงกลีบ รูปรี มี 2 ช่อง แต่ละช่อง ถอนพิษไข้ แก้พิษทั้งปวง ลดความร้อนในร่างกาย
[13]
มีออวุล 2 เม็ด ก้านเกสรเพศเมียเรียวยาว ยอดเกสร แก้ไข้ แก้พิษส�าแดง กระทุ้งพิษไข้หัว เป็นต้น
เพศเมียเป็น 2 หยัก ผล แบบผลแห้งแตก โคนค่อนข้าง ข้อมูลการศึกษาวิจัยพรีคลินิกพบว่า สารสกัด
กลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 1-1.5 เซนติเมตร ปลายเรียว รางจืดด้วยน�้ามีฤทธิ์ลดพิษของสารก�าจัดศัตรูพืช
เป็นจะงอยคล้ายปากแหลม ยาว 1.5-3 เซนติเมตร กลุ่มออร์แกโนฟอสเฟต (organophosphates) [14-15]
[16]
เมล็ด ค่อนข้างกลม แป้น เส้นผ่านศูนย์กลาง 2-5 และกลุ่มคาร์บาเมต (carbamates) โดยท�าให้อัตรา
มิลลิเมตร ผิวขรุขระ [2,5-7] การตายของสัตว์ทดลองลดลง ส่วนหนึ่งเนื่องจาก
ถิ่นกำาเนิดและการกระจายพันธุ์ พืชชนิดนี้มี รางจืดท�าให้ระดับเอนไซม์โคลีนเอสเทอเรส (cho-
เขตการกระจายพันธุ์ในทั่วทุกภาคของประเทศไทย linesterase) เพิ่มขึ้น หรือลดการยับยั้งเอนไซม์
และปลูกเป็นไม้ประดับทั่วไป ในต่างประเทศพบ โคลีนเอสเทอเรส [15-16] และยังลดพิษของยาฆ่าหญ้า
ที่ประเทศอินเดีย ศรีลังกา พม่า ภูมิภาคอินโดจีน พาราควอต (paraquat) ในสัตว์ทดลองเช่นกัน โดย
[17]
[5-7]
ภูมิภาคมาเลเซีย อาจเนื่องจากฤทธิ์ต้านการเกิดเพอร์ออกซิเดชันของ
[17]
ลักษณะเครื่องยา รางจืดเป็นใบแห้งทั้งใบ ไขมัน (lipid peroxidation) ต้านออกซิเดชัน ต้าน
[18]
สมบูรณ์หรือชิ้นส่วนของใบ สีน�้าตาลถึงน�้าตาลเข้ม รูป อนุมูลอิสระ ช่วยลดการท�าลายเซลล์ นอกจากนี้
ขอบขนานถึงรูปไข่ กลิ่นเฉพาะ รสจืด [2] รางจืดยังมีฤทธิ์ต้านพิษของแอลกอฮอล์ต่อตับ [19-20] ,
[21]
องค์ประกอบทางเคมี รางจืดมีสารกลุ่มสเตอรอล ต้านพิษของตะกั่วต่อสมอง , ต้านการก่อกลายพันธุ์
[24]
(sterols) เช่น บีตา-ซิโตสเตอรอล (b--sitosterol), (antimutagenic) [22-23] , ต้านอักเสบ และลดน�้าตาล
สติกมาสเตอรอล (stigmasterol), แอลฟา-สปินาส- ในเลือด [25-26]
[8]
เตอรอล (a-spinasterol) ; สารกลุ่มฟีนอลิก (phe- ข้อมูลการศึกษาวิจัยทางคลินิกพบว่าเมื่อให้ชา
nolics) เช่น เอพิเจนิน (apigenin), กรดแคฟเฟอิก ชงรางจืดขนาดประมาณ 6-8 กรัมแก่เกษตรกรที่ได้
(caffeic acid) ; สารกลุ่มแคโรทีน (carotenes) รับสารก�าจัดศัตรูพืชมีผลท�าให้ระดับเอนไซม์โคลีน-
[9]
เช่น ลูเทอิน (lutein) นอกจากนี้ ยังมีสารกลุ่มไกล- เอสเทอเรสเพิ่มขึ้น [27-28] ลดพิษของพาราควอตเมื่อ
[9]
โคไซด์ (glycosides) เช่น กรด 8-อีพิ-แกรนดิฟลอริก ใช้ร่วมกับยาอื่น [29-30] รวมทั้งมีรายงานผู้ป่วยที่แสดง
(8-epi-grandifloric acid), 3’-โอ-บีตา-กลูโคไพราโนซิล- ให้เห็นผลของรางจืดในการต้านพิษเทโทรโดทอกซิน
สติลเบริโคไซด์ (3’-O-b-glucopyranosyl-stilberi- (tetrodotoxin) จากไข่แมงดาทะเล [31]
coside), เบนซิล บีตา-กลูโคไพราโนไซด์ (benzyl
b-glucopyranoside), 6-ซี-กลูโคไพราโนซิล-เอพิเจนิน หมายเหตุ
(6-C-glucopyranosyl-apigenin) ; สารกลุ่ม 1. รางจืดเป็นยาพัฒนาจากสมุนไพรรายการ
[10]