Page 225 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 21 ฉบับที่ 2
P. 225
J Thai Trad Alt Med Vol. 21 No. 2 May-Aug 2023 441
อัตราก�าลังในโรงพยาบาลไม่เพียงพอ ขณะเดียวกัน ผลิตภัณฑ์กัญชาไม่เพียงพอ
บุคลากรที่รับผิดชอบไม่ผ่านการอบรม/ไม่ได้ต่อใบ 2) ส่งเสริมพัฒนาศักยภาพความรู้ให้แก่
อนุญาตและไม่ได้ลงทะเบียนสั่งจ่ายสาร (ยส.5) กับ บุคลากรทางการแพทย์ เกี่ยวกับแนวทางการรักษาและ
อย. 2) ด้านสมรรถนะความรู้ความเข้าใจของเจ้าหน้าที่ การติดตามผลการรักษา อัพเดทข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับ
ในแนวทางปฏิบัติปัญหาการสั่งจ่ายสารสกัดกัญชา นโยบาย ระเบียบ กฎหมายกัญชา เป็นต้น
3) นโยบายผู้บริหาร หรือความสนใจผู้บริหารมีผลต่อการ 3) ควรมีการคืนข้อมูล ส่งต่อการรักษาผู้ป่วย
จัดตั้งและการสนับสนุนทรัพยากร 4) ด้านระบบบริการ: เพื่อการติดตามดูแลอย่างต่อเนื่องระหว่างโรงพยาบาล
การให้บริการ ระบบสารสนเทศ การใช้โปรแกรมการ แม่ข่ายและโรงพยาบาลชุมชนในพื้นที่ หรือกลับไปรับ
บันทึกข้อมูล และการรายงาน โดยโรงพยาบาลบางแห่ง ยาที่คลินิกใกล้บ้าน มีการตัดสินใจร่วมกันโดยแพทย์
ขาดผู้รับผิดชอบหลักที่จะประสานเครือข่ายการท�างาน ที่รักษา เช่น ในกรณี palliative case ใน criteria การ
และ 5) ด้านผู้มารับบริการ: โรงพยาบาลบางแห่งมีผู้มาใช้ ใช้ผลิตภัณฑ์กัญชา
บริการน้อย เนื่องจากไม่ทราบว่ามีคลินิก และผลกระทบ 4) ควรมีการวางแผนและประสานความร่วม
สืบเนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 มือเครือข่ายคณะกรรมการประสานงานสาธารณสุข
การด�าเนินการแก้ไขปัญหากรณีที่ไม่อาจให้ ระดับอ�าเภอ (คปสอ.) หรือองค์กรต่าง ๆ ในพื้นที่เพื่อ
บริการรักษาแก่ผู้ป่วยได้ส่วนใหญ่ร้อยละ 62.5 การส่ง พัฒนาการคุณภาพการจัดบริการคลินิคกัญชาทาง
ต่อหรือปรึกษามายังโรงพยาบาลแม่ข่าย โรงพยาบาล แพทย์ให้เกิดประโยชน์ต่อประชาชนในพื้นที่ อีกทั้ง
น่าน รองลงมาร้อยละ 30.0 แนะน�าให้การรักษาทาง สร้างความเชื่อมั่นให้ผู้มารับบริการ มีการค้นหากลุ่ม
เลือกอื่นและเพื่อให้ผู้รับบริการได้เข้าถึงการบริการ เป้าหมาย และการประชาสัมพันธ์ให้ข้อมูลที่ถูกต้อง
คลิกนิกได้อย่างสะดวก รวดเร็ว ร้อยละ 67.5 เห็นว่า เกี่ยวกับการใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาทางการแพทย์
ไม่จ�าเป็นต้องมีใบส่งตัวจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ 5) ควรมีการศึกษาวิจัยเชิงคลินิกเกี่ยวกับ
ต�าบล (รพ.สต.) มายังคลินิก และพบว่ากลุ่มตัวอย่าง ประสิทธิผลการใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาในแต่ละกลุ่มโรค
ส่วนใหญ่ ร้อยละ 91.3 ไม่ได้ท�าการศึกษาวิจัย หรือมี ผ่านหลักฐานเชิงประจักษ์ และวิจัยเพื่อพัฒนาแนวทาง
แผนที่จะท�าการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับกัญชาทางการแพทย์ การรักษาผู้ป่วยที่ชัดเจนมากขึ้น
(Table 4) ความต้องการให้จังหวัดหรือโรงพยาบาลแม่
1.5 แนวทางการพัฒนาระบบริการกัญชา ข่าย (โรงพยาบาลน่าน) สนับสนุนการจัดบริการคลินิก
ทางการแพทย์ และความต้องการสนับสนุนการจัด กัญชาทางการแพทย์ในรพ.เครือข่าย /รพ.ชุมชนใน
บริการคลินิกกัญชาทางการแพทย์ พื้นที่ สรุปได้ดังนี้ 1) ต้องการให้โรงพยาบาลแม่ข่าย
เป็นค�าถามปลายเปิดพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีข้อ เป็นต้นแบบคลินิกกัญชาผสมผสาน ทั้งยากัญชาแผน
เสนอแนะแนวทางการพัฒนาระบบริการกัญชาทางการ ปัจจุบันและยากัญชาแผนไทย เพื่อเป็นแบบอย่างกับ
แพทย์ สรุปได้ดังนี้ รพช, รพ.สต. 2) สร้างความร่วมมือเครือข่ายให้ใกล้
1) ควรมีการบูรณาการกับแพทย์แผนปัจจุบัน ชิด จัดระบบการ consult ที่ดี ให้ค�าปรึกษาทางวิชาการ
ให้เป็นระบบมากขึ้น พัฒนาแนวทางการรักษาร่วมกัน โดยโรงพยาบาลแม่ข่ายสอนงาน ให้ค�าแนะน�าแนวทาง
และมีคู่มือแนวทางการด�าเนินงานคลินิกกัญชา การส่ง การให้บริการคลินิกกัญชา การส่งต่อผู้ป่วยและการ
ต่อผู้ป่วย หรือการแก้ไขกรณีมีปัญหาการให้บริการ หรือ สนับสนุนต�ารับยา 3) จัดเวทีวิชาการแลกเปลี่ยนเรียน