Page 108 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 21 ฉบับที่ 2
P. 108

324 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก      ปีที่ 21  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2566




           เคยมีประวัติการใช้อ้างอิงตามต�าราทางการแพทย์แผน  เจลสารสกัดรากทองพันชั่ง
           โบราณในประเทศไทยที่ระบุถึงสรรพคุณในการแก้       ผลิตภัณฑ์เจลสารสกัดรากทองพันชั่ง (0.1%

           กลากเกลื้อน ผื่นคัน และโรคผิวหนังที่เป็นน�้าเหลือง  rhinacanthin C) นับเป็นยาจากสมุนไพรที่วิจัย
                  [2]
           บางชนิด  รวมถึงมีรายงานวิจัยทางวิทยาศาสตร์  พัฒนา (ข3) ที่ซึ่งประวัติการใช้แบบดั้งเดิมที่อ้างอิง
           แสดงฤทธิ์ในการต้านเชื้อราของสารสกัดรากทองพัน  ไม่สามารถประเมินขนาดการใช้ของผลิตภัณฑ์ได้

           ชั่งต่อเชื้อราก่อโรคที่ผิวหนัง  ซึ่งนับเป็นการยืนยัน  อาจมีความจ�าเป็นต้องยื่นข้อมูลด้านความปลอดภัย
                                 [5]
           ถึงสรรพคุณของสมุนไพรนี้อย่างชัดเจน อย่างไรก็ตาม   และประสิทธิผลอื่น ๆ เพิ่มเติมในการขออนุญาต
                                                                      [25]
           เมื่อค้นหาข้อมูลการวิจัยเกี่ยวกับการศึกษาความเป็น  ผลิตภัณฑ์สมุนไพร  ในการศึกษานี้ จึงได้ประเมิน
           พิษทางพันธุกรรมของสมุนไพรนี้ จนถึงปัจจุบันยัง  ความปลอดภัยของต�ารับเจลสารสกัดรากทองพันชั่ง
           ไม่พบรายงานการศึกษาในด้านนี้มาก่อน ท�าให้ไม่มี  ในระดับคลินิก โดยการทดสอบการระคายเคืองในผู้
           ข้อมูลด้านความเป็นพิษทางพันธุกรรมของรากทอง  เข้าร่วมวิจัยคนไทยสุขภาพดีด้วยวิธี Single patch

           พันชั่งที่จะน�ามาใช้อ้างอิงได้ ดังนั้นผลการทดสอบ  test ท�าการทดสอบตามค�าแนะน�าใน COSMETICS
           ฤทธิ์ก่อกลายพันธุ์ในเชื้อแบคทีเรียของเจลสารสกัด  EUROPE ซึ่งผลการทดสอบแสดงให้เห็นว่า ต�ารับ

           รากทองพันชั่งครั้งนี้จึงเป็นการยืนยันความปลอดภัย  เจลสารสกัดรากทองพันชั่ง (0.1% rhinacanthin
           ของผลิตภัณฑ์สมุนไพรดังกล่าวในด้านไม่ก่อให้เกิด  C) ไม่ก่อให้เกิดการระคายเคืองในผู้เข้าร่วมวิจัยคน
           ความเป็นพิษทางพันธุกรรม                     ไทยสุขภาพดี โดยไม่พบผู้เข้าร่วมวิจัยที่เกิดรอยแดง

                การทดสอบการระคายเคืองทางผิวหนัง/การ    (erythema), บวม (oedema), ผิวแห้งเป็นสะเก็ด
           กัดกร่อนในสัตว์ทดลองของต�ารับเจลสารสกัดราก  (dryness/ scaling) หรือเกิดตุ่มน�้า (vesicles) ใน

           ทองพันชั่ง (0.1% rhinacanthin C) ด�าเนินการ  บริเวณทดสอบที่แปะเจลสารสกัดรากทองพันชั่ง จาก
           ทดสอบตามวิธีการที่อ้างอิงตาม OECD Guidelines   ผลการประเมินด้านความปลอดภัยของต�ารับเจลสาร
           No.404 โดยใช้กระต่ายสายพันธุ์ New Zealand   สกัดรากทองพันชั่ง (0.1% rhinacanthin C) ทั้งใน

           White การทดสอบแสดงให้เห็นว่าต�ารับเจลสารสกัด  ระดับ in vitro และ in vivo รวมถึงการทดสอบใน
           รากทองพันชั่งไม่มีฤทธิ์ในการกัดกร่อน และไม่ก่อให้  ระดับคลินิกสามารถสรุปได้ว่า ผลิตภัณฑ์ดังกล่าวมี
           เกิดการระคายเคืองทางผิวหนัง ซึ่งผลการทดสอบของ  ความปลอดภัยส�าหรับน�าไปใช้ในมนุษย์ สูตรต�ารับ

           ผลิตภัณฑ์เจลสารสกัดรากทองพันชั่งที่ผลิตในโรงงาน  ผลิตภัณฑ์สมุนไพรนี้ สามารถน�าไปศึกษาประสิทธิผล
           ต้นแบบผลิตผลิตภัณฑ์สมุนไพรครั้งนี้ สอดคล้องกับ  และความปลอดภัยของต�ารับในระดับคลินิกเพื่อ
           ผลการทดสอบการระคายเคืองของเจลสารสกัดราก     ประเมินผลในการรักษาผู้ป่วยโรคผิวหนังจากเชื้อรา

           ทองพันชั่งที่ผลิตในระดับห้องปฏิบัติการ ซึ่งด�าเนิน  ได้ต่อไป
           การทดสอบตามข้อก�าหนด ISO 10993-10: 2010

                                    [16]
           โดยใช้กระต่ายสายพันธุ์ albino  ผลการทดสอบที่                ข้อสรุป
           ได้นี้จึงเป็นข้อมูลที่ไม่ใช่การศึกษาทางคลินิกในส่วน      การศึกษานี้ ได้ทดลองผลิตต�ารับเจลสารสกัด
           in vivo ที่แสดงข้อมูลด้านความปลอดภัยของต�ารับ  รากทองพันชั่งที่มีปริมาณสารไรนาแคนทิน ซี 0.1%
   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112   113