Page 96 - J Trad Med 21-1-2566
P. 96

76 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 21  ฉบับที่ 1  มกราคม-เมษายน 2566




           70% ท�าความสะอาดที่มือผู้วิจัยและจุดฝังเข็มแต่   สามารถมาฝังเข็มได้ครบตามจ�านวน 11 คน เหลือผู้
           ละจุด                                       เข้าร่วมวิจัย 45 คน เป็นเพศชายจ�านวน 15 คน (ร้อยละ

                           2.2.3 ใช้เข็มฝังที่จุดเทียนซู (ST25) 2 ข้าง   33.3) เป็นเพศหญิงจ�านวน 30 คน (ร้อยละ 66.7)
           จุดจู๋ซานหลี่ (ST36) 2 ข้าง จุดเฟิงหลง (ST40) 2   มีอายุเฉลี่ย 21.69 ± 1.10 ปี น�้าหนักเฉลี่ย 86.97 ±
           ข้าง จุดจงหว่าน (CV12) และจุดกวนหยวน (CV4)   21.48 กิโลกรัม ค่าดัชนีมวลกาย (BMI) เฉลี่ย 31.50

           หลังจากฝังเข็มคาทิ้งไว้ 30 นาที ก็จะท�าการถอนเข็ม    ± 6.33 มีความยาวเส้นรอบเอวเฉลี่ย 38.95 ± 5.89
           เป็นอันเสร็จสิ้นการรักษา 1 ครั้ง เข้ารับการฝังเข็มวัน  นิ้ว ความยาวเส้นรอบสะโพกเฉลี่ย 43.58 ± 5.94 นิ้ว
           เว้นวัน รวมจ�านวน 10 ครั้ง ถือว่าจบการรักษา 1 คอร์ส    ร้อยละสัดส่วนไขมันในร่างกายเฉลี่ย 38.62 ± 8.91

                   2.2.4 หลังจากเสร็จสิ้นการฝังเข็มในครั้งที่   ร้อยละมวลกล้ามเนื้อเฉลี่ย 57.36 ± 8.50 (ตารางที่ 2)
           3 5 7 และ 10 จะท�าการบันทึกข้อมูลเส้นรอบเอว เส้น     2.  หลังการรักษา
           รอบสะโพกและท�าการชั่งน�้าหนักโดยใช้ เครื่องสแกน     จากกการวิจัยพบว่าน�้าหนักตัวเฉลี่ยหลังสิ้นสุด

           เพื่อตรวจติดตามองค์ประกอบร่างกาย            การรักษาลดลงกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรม 2.49 ± 1.36
                   2.2.5 รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ และสรุปผล  กิโลกรัม แตกต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ (F =

           การศึกษา                                    73.74, p-value < 0.001) ค่าดัชนีมวลกาย (BMI)
                                                                                              2
                2.3  การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติ        เฉลี่ยหลังสิ้นสุดการรักษาลดลง 0.89 ± 0.45 kg/m
                   2.2.1 สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ร้อยละ ค่า  แตกต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ (F = 78.40,

           เฉลี่ย ส่วนเบี่ยง เบนมาตรฐาน                p-value < 0.001) เส้นรอบเอวเฉลี่ยหลังสิ้นสุดการ
                   2.2.2 สถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ repeated   รักษาลดลง 2.23 ± 1.52 นิ้ว แตกต่างกันอย่างมีนัย

           measures ANOVA                              ส�าคัญทางสถิติ (F = 49.22, p-value < 0.001) เส้น
                                                       รอบสะโพกเฉลี่ยหลังสิ้นสุดการรักษาลดลง 2.33 ±
                         ผลกำรศึกษำ                    1.49 นิ้ว แตกต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ (F =


                ผู้วิจัยได้จัดการฝังเข็ม 1 การรักษา จ�านวน 10   41.253, p-value < 0.001) ร้อยละสัดส่วนไขมันใน
           ครั้ง ในกลุ่มนิสิตมหาวิทยาลัยพะเยาจ�านวน 45 คน   ร่างกายเฉลี่ยหลังสิ้นสุดการรักษาลดลง 1.99 ± 2.11
           โดยระหว่างรักษาและหลังสิ้นสุดการรักษา พบว่าไม่มี  แตกต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ (F = 15.66, p-

           ผลข้างเคียงใด ๆ และได้น�าเอาผลการฝังเข็มมาท�าการ  value < 0.001) ร้อยละมวลกล้ามเนื้อเฉลี่ย หลังสิ้น
           วิเคราะห์ด้วยวิธีการทางสถิติโดยมีการน�าเสนอผลการ  สุดการรักษาเพิ่มขึ้น 1.86 ± 1.95 แตกต่างกันอย่าง
           วิเคราะห์ข้อมูลดังต่อไปนี้                  มีนัยส�าคัญทางสถิติ (F = 18.12 p-value < 0.001)

                1.  ก่อนการรักษา                       (ตารางที่ 3)
                กลุ่มผู้เข้าร่วมวิจัยเข้าร่วมงานวิจัยทั้งหมด     จากตารางที่ 4 แสดงให้เห็นว่า ผลที่ได้จาการวัด

           จ�านวน 56 คน  จากนั้นถูกคัดออกเนื่องจาก ไม่
   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101