Page 93 - J Trad Med 21-1-2566
P. 93
J Thai Trad Alt Med Vol. 21 No. 1 Jan-Apr 2023 73
การส�ารวจสุขภาพประชาชนไทย ครั้งที่ 5 พบว่ามีอัตรา หนึ่งส�าหรับผู้ที่ต้องการลดน�้าหนักและลดรอบเอว การ
การเพิ่มขึ้นอย่างชัดเจนจากร้อยละ 41.8 เป็นร้อยละ ฝังเข็มตามศาสตร์การแพทย์แผนจีน จะช่วยกระตุ้น
46.4 ในเพศหญิง และเพิ่มจากร้อยละ 32.9 เป็นร้อย เมแทบอลิซึม ท�าให้เพิ่มอัตราการเผาผลาญพลังงานใน
[3]
ละ 37.8 ในเพศชาย และพบว่าค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ ร่างกาย ลดระดับคอเลสเตอรอลและไตรกลีเซอไรด์
[8-11]
ที่เกิดขึ้นจากโรคอ้วนหรือภาวะน�้าหนักเกินซึ่ง มีมูลค่า ช่วยลดการดูดซึมไขมัน จึงช่วยสลายไขมันสะสม
สูงถึง 5,580.8 ล้านบาท โดยโรคที่ก่อให้เกิดค่าใช้จ่าย ที่คั่งค้าง แปรเปลี่ยนเป็นพลังงานน�ากลับมาใช้ในเซลล์
มากที่สุด 3 ล�าดับแรกได้แก่ โรคเบาหวาน โรคหัวใจ ต่าง ๆ ท�าให้ระบบอื่น ๆ ดีขึ้น การฝังเข็มจึงเป็นอีกทาง
ขาดเลือด โรคมะเร็งล�าไส้ 3,386.6 ล้านบาท 1,070.5 เลือกหนึ่งในการใช้ลดน�้าหนักและป้องกันการเกิดโรค
ล้านบาท และ 377.2 ล้านบาทตามล�าดับ [4] ไม่ติดต่อเรื้อรังอันจะน�าไปสู่โรคร้ายแรงอื่น ๆ ซึ่งส่งผล
ในปัจจุบันสามารถประเมินภาวะอ้วนได้ด้วยตัว ตามมาในอนาคต
เองอย่างง่าย ๆ โดยใช้ค่าดัชนีมวลกาย เส้นรอบเอว การฝังเข็มเป็นหนึ่งในวิธีการรักษาโรคทางการ
และอัตราส่วนของรอบเอวต่อรอบสะโพก (Waist- แพทย์แผนจีน ซึ่งได้รับความสนใจอย่างมากในการ
to-hip ratio: WHR) โดยสามารถแบ่งระดับค่าดัชนี รักษาโรคอ้วน ในการฝังเข็มรักษาโรคอ้วนนั้น นิยม
มวลกาย ตามเกณฑ์สากลขององค์การอนามัยโลก ใช้จุดฝังเข็มในเส้นลมปราณมือหยางหมิงล�าไส้ใหญ่
(ตารางที่ 1) เส้นลมปราณเท้าหยางหมิงกระเพาะอาหาร และ
[12]
เส้นลมปราณเท้าไท่อินม้ามเป็นหลัก ได้แก่ เน่ยถิง
ตารางที่ 1 เกณฑ์การประเมินภาวะอ้วนโดยใช้ค่าดัชนี จู๋ซานหลี่ เฟิงหลง เทียนซู ไว่หลิง เหอกู่ ชวีฉือ
มวลกาย (BMI)
ซานอินเจียว ต้าเหิง อินหลิงฉวน ฯลฯ นอกจากนี้
กลุ่ม BMI (kg/m ) ยังนิยมใช้จุดฝังเข็มตามบริเวณที่ต้องการลดความ
2
[5]
WHO 1998 Asia-Pacific อ้วน เช่น บริเวณท้อง สะโพก ต้นขา ซึ่งรวมกันแล้ว
perspective [6]
มีมากกว่า 15 จุด การศึกษาจ�านวนมากแสดงให้เห็น
น�้าหนักน้อย < 18.5 < 18.5 ว่าการฝังเข็มและการรมยาไม่เพียงแต่สามารถลด
น�้าหนักปกติ 18.5–24.9 18.5–22.9
น�้าหนักเกิน 25.0–29.9 23.0–24.9 น�้าหนักได้อย่างมีประสิทธิผล แต่ยังช่วยลดภาวะ
อ้วนระดับ 1 30.0–34.9 25.0–29.9 แทรกซ้อนต่าง ๆ ที่เกิดจากโรคอ้วน ช่วยปรับสมดุล
อ้วนระดับ 2 35.0–39.9 ≥ 30.0 ระบบฮอร์โมน ไม่มีผลจากอาการโยโย่เอฟเฟค (yo yo
อ้วนระดับ 3 ≥ 40.0 effect) ในทางทฤษฎีการแพทย์แผนจีนมีค�ากล่าว
[13]
ที่ว่า “เฝยเหรินตัวถาน’’ หมายถึง คนรูปร่างอ้วน มัก
ส�านักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุข เกิดจากเสมหะและความชื้นสะสม ซึ่งเกิดจากความ
[14]
ภาพ (สสส.) ปี 2553 ระบุไว้ว่าขนาดเส้นรอบเอว ผิดปกติในการดูดซึมการไหลเวียน ขับถ่ายของเหลว
[7]
หรือเส้นรอบพุงในคนเอเชีย เส้นรอบเอวในผู้ชายไม่ ในร่างกาย ความชื้นรวมตัวกันเป็นน�้า น�้าสะสมกลาย
ควรเกิน 36 นิ้ว (90 เซนติเมตร) และในผู้หญิงไม่ควร เป็นของเหลว นานวันเข้าก็กลายเป็นเสมหะ เสมหะ
เกิน 32 นิ้ว (80 เซนติเมตร) การฝังเข็มเป็นทางเลือก สะสมรวมตัวกลายเป็นไขมัน ไปสะสมที่อวัยวะต่าง ๆ