Page 94 - J Trad Med 21-1-2566
P. 94
74 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 21 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2566
[15]
และท�าให้เกิดโรคอ้วน ตามมา ซึ่งอวัยวะที่เกี่ยวข้อง ระเบียบวิธีศึกษำ
หลัก ๆ ได้แก่ม้ามและกระเพาะอาหาร ตามทฤษฎี
การแพทย์แผนจีนกล่าวว่าม้ามเป็นแหล่งพลังงานหลัง 1. วัสดุ
คลอด ท�าหน้าที่ร่วมกับกับกระเพาะอาหารเพื่อเปลี่ยน 1.1 อุปกรณ์ฝังเข็ม ใช้เข็มฝังเข็ม ยี่ห้อ DONG
อาหารที่รับประทานเข้าไปเป็นสารอาหารและขนส่งไป BANG ขนาด 0.25 5 40 mm. (1.5 ชุ่น)
ทั่วร่างกาย ควบคุมการย่อย การดูดซึมและสมดุลของ 1.2 เครื่องสแกนเพื่อตรวจติดตามองค์ประกอบ
น�้าและความชื้นภายในร่างกาย เมื่อการท�างานของม้าม ร่างกายรุ่น HBF-224 ยี่ห้อ OMRON สามารถวัดค่าน�้า
และกระเพาะอาหารบกพร่อง ท�าให้เกิดการสะสมของ หนัก ดัชนีมวลกาย ร้อยละมวลกล้ามเนื้อ ร้อยละ
เสมหะและของเหลว เกิดเป็นไขมัน สะสม ที่อวัยวะ สัดส่วนไขมันในร่างกาย
ต่าง ๆ ภายในร่างกาย ซึ่งจุดฝังเข็มที่เลือกมา จะอยู่ใน 1.3 สายวัดรอบเอว ก�าหนดวิธีการวัด คือ อยู่ใน
เส้นลมปราณกระเพาะอาหาร หรือท�าหน้าที่บ�ารุงม้าม ท่ายืน เท้าทั้ง 2 ห่างกัน ประมาณ 10 เซนติเมตร จาก
และกระเพาะอาหารเป็นหลัก ได้แก่จุดเทียนซู (ST25) นั้นใช้สายวัด วัดรอบเอวโดยวัดผ่านสะดือ อ่านค่าวัด
เป็นจุดฝังเข็มที่อยู่บนเส้นลมปราณกระเพาะอาหาร มี ในช่วงหายใจออก (ท้องแฟบ) โดยให้สายวัดแนบล�า
สรรพคุณช่วยปรับสมดุลกระเพาะอาหาร จุดจู๋ซานหลี่ ตัว ไม่รัดแน่นและให้ระดับของสายวัดที่วัดรอบเอว
ST36 (ST36) เป็นจุดที่อยู่บนเส้นลมปราณกระเพาะ วางอยู่ในแนวขนานกับพื้น โดยที่ขนาดของรอบเอวจะ
อาหาร มีสรรพคุณม้ามและช่วยปรับสมดุลกระเพาะ อยู่ตรงปลายเทปที่เป็นเลข 0 บรรจบกับตัวเลขสุดท้าย
อาหาร จุดเฟิงหลง (ST40) เป็นจุดฝังเข็มที่อยู่บน ที่อยู่บนสายวัด
เส้นลมปราณกระเพาะอาหารมีสรรพคุณบ�ารุงม้าม
และขจัดเสมหะมักใช้รักษาโรคที่เกิดจากเสมหะ จุด 2. วิธีกำรศึกษำ
จงหว่าน (CV12) เป็นจุดฝังเข็มที่อยู่บนเส้นลมปราณ งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยกึ่งทดลอง (quasi-ex-
เริ่น อีกทั้งยังเป็นจุดมู่ของกระเพาะอาหาร ซึ่งเป็นจุดที่ perimental study) แบบอนุกรมเวลา (time series
ใช้บ�ารุงกระเพาะอาหารได้ดี นอกจากนี้ยังมีสรรพคุณ design) โดยท�าการวัดค่า BMI และค่าเส้นรอบเอว
บ�ารุงม้าม ช่วยย่อย ช่วยระบาย ขจัดเสมหะและขับน�้า ทั้งหมด 5 ครั้งคือก่อนท�าการรักษา 1 ครั้ง หลังท�าการ
อีกด้วย จุดกวนหยวน (CV4) อยู่บนเส้นลมปราณเริ่น รักษาครั้งที่ 3 5 7และหลังท�าการรักษาครบ 10 ครั้ง ผู้
มีสรรพคุณอุ่นไตบ�ารุงหยาง ขับน�้า เข้าร่วมวิจัยจะได้รับการฝังเข็ม โดยเลือกใช้จุดฝังเข็ม
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบ จ�านวน 5 จุด ได้แก่จุดเทียนซู (ST25) 2 ข้าง จุดจู๋ซาน
ผลก่อนและหลังของการฝังเข็มที่มีผลต่อน�้าหนัก เส้น หลี่ (ST36) 2 ข้าง จุดเฟิงหลง (ST40) 2 ข้างจุดจง
รอบเอว เส้นรอบสะโพกค่าดัชนีมวลกาย ร้อยละมวล หว่าน (CV12) และจุดกวนหยวน (CV4) หลังจากฝัง
กล้ามเนื้อและเปอร์เซ็นต์ไขมันในร่างกาย เพื่อเป็น เข็มคาทิ้งไว้ 30 นาที ก็จะท�าการถอนเข็ม เป็นอันเสร็จ
ข้อมูลในการวิจัยในอนาคต สิ้น การรักษา 1 ครั้ง เข้ารับการฝังเข็มวันเว้นวัน รวม