Page 82 - J Trad Med 21-1-2566
P. 82

62 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 21  ฉบับที่ 1  มกราคม-เมษายน 2566




           หน้ารองเท้าเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า และติดตีนตุ๊กแก     2.  ไม่มีประวัติการแพ้สมุนไพร
           บริเวณหน้ารองเท้าส�าหรับท�าหูรองเท้า            3.  สามารถสื่อสารและเข้าใจภาษาไทยได้ดี

                4. น�าพื้นรองเท้าที่ส�าเร็จมาคาดประกอบกับหู     4.  สมัครใจเข้าร่วมโครงการวิจัย
           รองเท้า                                         5.  สามารถเดินทางมาเข้าร่วมกิจกรรมที่สถานี
                5. เย็บถุงสมุนไพร สมุนไพรประกอบด้วย ไพล   อนามัยเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา นวมินทราชินี

           ผิวมะกรูด ตะไคร้ ใบมะขาม ขมิ้นชัน ล้างให้สะอาด   ต�าบลบ่อสุพรรณ อ�าเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี
           และหั่นเป็นชิ้นเล็ก ๆ ตากแดดให้แห้ง เมื่อแห้งน�า     เกณฑ์การคัดออก (exclusion criteria)
           สมุนไพรทั้งหมด การบูรและพิมเสน มาผสมคลุกรวม     1.  มีแผลเปิดบริเวณเท้า

           กันน�าสมุนไพรที่ผสมแล้วใส่ถุงผ้าแล้วเย็บปิดให้สนิท     2.  เป็นโรคหลอดเลือดด�าอักเสบทั้งส่วนปลาย
                6.  น�าอุปกรณ์มาประกอบเป็นรองเท้า      และส่วนลึก
                                                           เกณฑ์ให้ผู้เข้าร่วมวิจัยเลิกจากการศึกษา (dis-

                                                       continuation criteria)
                                                           1.  ผู้ป่วยไม่ปฏิบัติตามแผนการรักษาในขณะ

                                                       ด�าเนินการวิจัย
                                                           2.  ประสบอุบัติเหตุระหว่างการท�าวิจัย
                                                           3.  ผู้เข้าร่วมงานวิจัยต้องการออกจากการวิจัย


                                                       ก�รวิเคร�ะห์ข้อมูล


                                                           1.  ข้อมูลคุณลักษณะส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ

                จุดที่ 1 ทำ�ให้ก�รไหลเวียนดีขึ้นเกิดสมดุลใน  อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา อาชีพ และ
           ร่�งก�ย  จุดที่ 2 ปรับสมดุลระบบร่�งก�ย เพิ่มก�รไหล  ข้อมูลประวัติ โรคเบาหวาน ได้แก่ ระยะเวลาที่เป็น
           เวียนเลือด จุดที่ 3 ส�ม�รถปรับสมดุลของระบบประส�ท  เบาหวาน โรคประจ�าตัวอื่นนอกจากเบาหวาน วิเคราะห์
           อัตโนมัติ  เพิ่มก�รขย�ยตัวของหลอดเลือด  กระตุ้นก�ร  โดยสถิติพรรณนา (descriptive statisics)
           ไหลเวียนเลือดในระดับผิวหนัง  เพิ่มก�รขับส�รพิษออก     2.  การเปรียบเทียบประสาทรับความรู้สึก
           จ�กร่�งก�ย  และลดระดับคว�มหนืดในเส้นเลือด จุดที่
           4 ปรับสมดุลระบบฮอร์โมน โดยก�รกระตุ้นระบบต่อม  เท้าของผู้ป่วยเบาหวานก่อนกับหลังการใส่รองเท้า
           ใต้สมอง ระบบต่อมไร้ท่อ และน้ำ�เหลือง        วิเคราะห์ด้วยสถิติ ทดสอบทีแบบกลุ่มตัวอย่างที่ไม่
                                                       เป็นอิสระต่อกัน (dependent t-test)
           เกณฑ์ในก�รคัดเลือกกลุ่มตัวอย่�ง                 3.  การเปรียบเทียบประสาทรับความรู้สึกเท้าใน

                เกณฑ์การคัดเข้า (inclusion criteria)   ผู้ป่วยเบาหวาน ระหว่างกลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุม

                1.  ผู้ป่วยเป็นโรคเบาหวานที่มีอาการชาเท้าโดย  วิเคราะห์ด้วยสถิติทดสอบทีแบบกลุ่มตัวอย่างที่เป็น
           ได้รับประเมินด้วย Monofilament 10 g. แล้วไม่  อิสระต่อกัน (independent t-test)
           สามารถรับรู้การตรวจสอบอย่างน้อย 1 จุด
   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87