Page 80 - J Trad Med 21-1-2566
P. 80
60 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 21 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2566
การป่วยด้วยโรคเบาหวาน 229.15 ต่อแสนประชากร ต่าง ๆ ลดลง เนื่องจากความเสื่อมของเส้นประสาท
และเพิ่มขึ้นเป็น 490.50 ต่อแสนประชากรในปี พ.ศ. ส่วนปลาย โดยเฉพาะ อาการเจ็บและการสัมผัส อาการ
[3]
2548 แสดงให้เห็นถึงแนวโน้มของการเป็นโรค ชาเกิดได้กับเนื้อเยื่อทั่วร่างกาย แต่มักเกิดกับเนื้อเยื่อ
เบาหวานเพิ่มสูงขึ้น ที่ส�าคัญผู้ป่วยเบาหวานประมาณ นิ้วมือ นิ้วเท้า มือ เท้า แขนและขา อาการชาเกิดจากมี
ครึ่งหนึ่งไม่รู้ว่าเป็นเบาหวานมาก่อน และในจ�านวน การบาดเจ็บของเส้นประสาทไขสันหลัง/สมอง ในส่วน
ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการรักษา และควบคุมโรคได้มี ที่รับรู้ความรู้สึกซึ่งมีสาเหตุได้หลายสาเหตุโดยที่พบ
เพียงร้อยละ 26 เท่านั้น นอกจากนั้นผู้ป่วยเบาหวาน บ่อย คือ โรคเบาหวาน ผู้ป่วยเบาหวานเกือบร้อยละ
ยังมีภาวะแทรกซ้อนอีกเป็นจ�านวนมาก ภาวะ 50 จะมีอาการชาที่ปลายเท้า [8]
[4]
แทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเบาหวานที่พบ ได้แก่ จอประสาท แนวทางการรักษาแบบการแพทย์แผนไทย ใน
ตาเสื่อม โรคหลอดเลือดหัวใจอุดตันหรือตีบ โรค การดูแลสุขภาพของคนไทย ซึ่งสืบทอดกันมายาวนาน
หลอดเลือดสมองอุดตันหรือตีบ เป็นแผลที่เท้า และ เป็นมรดกทางปัญญา ไม่ว่าจะเป็นด้านสมุนไพร ด้าน
พบว่าร้อยละ 15 ของผู้ป่วยเบาหวานจะเกิดที่เท้าและ การนวดไทย ด้านการนวดกดจุดสะท้อนฝ่าเท้า รักษา
เป็นสาเหตุที่น�าไปสู่การตัดขาร้อยละ 85 ของผู้ป่วย อาการบวมการอักเสบของกล้ามเนื้อและเส้นเอ็น ลด
เบาหวานที่มีแผลที่เท้า [5] อาการเกร็งของกล้ามเนื้อ ช่วยให้พังผืดยืดตัว และ
จากการศึกษาความชุกและปัจจัยเสี่ยงต่อ เพิ่มการไหลเวียนของเลือดอีกทั้งการแช่เท้าในน�้า
[9]
การถูกตัดเท้าในผู้ป่วยเบาหวานไทย พบถูกตัดเท้า สมุนไพรก็สามารถรักษาโรคได้
ร้อยละ 1.50 โดยพบว่าเป็นการตัดนิ้วเท้า ตัดใต้เข่า การนวดกดจุดสะท้อนฝ่าเท้า เป็นการใช้มือทั้ง
และตัดเหนือเข่า คิดเป็นร้อยละ 64.10, 31.70 และ 4.20 สองข้าง นวด คลึง ครูด กดที่ผิวหนังบริเวณฝ่าเท้า
ตามล�าดับ ซึ่งโรคแทรกซ้อนดังกล่าวอาจท�าให้ผู้ป่วย หลังเท้า และใช้ไม้กดจุด กดตามจุดสะท้อนต่าง ๆ
[6]
เบาหวานกลายเป็นผู้พิการหรือเสียชีวิต ปัจจัยเสี่ยง บนฝ่าเท้า เพื่อกระตุ้นการท�างานของอวัยวะต่าง ๆ
ต่อการถูกตัดเท้าที่พบมากที่สุด คือ ประวัติการมีแผล ในร่างกาย ในขั้นตอนของการนวดจะส่งผลในการ
ที่เท้าร้อยละ 59.20 รองลงมาคือ หลอดเลือดส่วน กระตุ้นระบบไหลเวียนเลือด เกิดการน�าสารอาหารและ
ปลายอุดตัน ภาวะเบาหวานขึ้นจอประสาทตาและ ออกซิเจนไปเลี้ยงยังอวัยวะต่าง ๆ เซลล์ประสาท และ
[10]
ผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน�้าตาลในเลือดไม่ได้ที่ กล้ามเนื้อในส่วนต่าง ๆ ของร่างกายได้ เนื่องจาก
ต้องรักษาด้วยการฉีดอินซูลิน แผลที่เท้าและการถูก การนวดจะช่วยกระตุ้นการหลั่งสารสื่อประสาท และ
ตัดเท้าเป็นภาวะแทรกซ้อนที่น่ากลัวส�าหรับผู้ป่วย สารฮีสตามีน ซึ่งจะมีส่วนท�าให้หลอดเลือดมีการ
เบาหวาน ส่งผลกระทบทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และ ขยายตัว ท�าให้การไหลเวียนของเลือดสะดวกขึ้นเมื่อ
[7]
สังคมท�าให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตลดลง เป็นภาระต่อ การไหลเวียนเลือดดีขึ้น เส้นประสาทที่อยู่ส่วนปลาย
ครอบครัวและสังคม รวมทั้งสูญเสียทรัพยากรด้าน ได้รับออกซิเจนและอาหารมากขึ้น อาการชาจะลดลง
การแพทย์และงบประมาณของประเทศเป็นจ�านวน สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา
มหาศาลในการดูแลรักษา นวมินทราชินี ต�าบลบ่อสุพรรณ อ�าเภอสองพี่น้อง
อาการชาคืออาการที่เนื้อเยื่อรับความรู้สึก จังหวัดสุพรรณบุรี พบรายงานผู้ป่วยเบาหวานใน