Page 81 - J Trad Med 21-1-2566
P. 81

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 21  No. 1  Jan-Apr  2023  61




            ปี พ.ศ. 2560, 2561 และ 2562 จ�านวน 271, 295   เฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา นวมินทราชินี ต�าบลบ่อ
            และ 327 คนตามล�าดับ ซึ่งแสดงให้เห็นถึงแนวโน้ม  สุพรรณ อ�าเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี ที่ผ่าน

            ขนาดของปัญหาการป่วยด้วยโรคเบาหวานเพิ่มสูงขึ้น   เกณฑ์การคัดเข้า จ�านวน 68 คน และแบ่งกลุ่มตัวอย่าง
            เรื่อย ๆ และพบผู้ป่วยเบาหวานมีอาการชาเท้าและมี  ออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 34 คน แบ่งโดยการจับฉลาก
            แผลที่เท้าเพิ่มขึ้นจากสถิติ ปี พ.ศ. 2560 ผู้ป่วยเบาหวาน   กลุ่มที่ 1 คือผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ใส่รองเท้านวดกด

            มีอาการชาเท้าจ�านวน  51 คน มีแผลที่เท้า 8 คน ปี   จุดสมุนไพร กลุ่มที่ 2 คือผู้ป่วยเบาหวานที่ใส่รองเท้า
            พ.ศ. 2561 ผู้ป่วยเบาหวานมีอาการชาเท้าจ�านวน  59   ธรรมดา ให้ผู้เข้าร่วมงานวิจัย ใส่รองเท้าทุกวัน วันละ
            คน มีแผลที่เท้า 11 คน และในปี พ.ศ. 2562 ผู้ป่วย   2 ครั้ง เวลา 06.00 น. และเวลา 18.00 น. โดยเดินขั้น

            เบาหวานมีอาการชาเท้าจ�านวน 73 คน มีแผลที่เท้า   ต�่า 45 ก้าว/นาที เป็นระยะเวลา 30 นาที/ครั้ง กลุ่มที่
            15 คน จากอาการชาที่พบดังกล่าวนับว่าเป็นผลที่  ใส่รองเท้านวดกดจุดสมุนไพรให้น�าถุงบรรจุสมุนไพร
            เกิดจากโรคเบาหวาน จึงเป็นเรื่องส�าคัญที่ต้องดูแล  ไปนึ่งด้วยความร้อน 10 นาที กลุ่มที่ใส่รองเท้าธรรมดา

            สุขภาพของประชาชนในการบรรเทาอาการชาเท้าให้   สามารถใส่ได้เลย ทั้ง 2 กลุ่มใส่รองเท้าเป็นระยะเวลา
            ลดลง จากการทบทวนวรรณกรรมการกดจุดสะท้อน      28 วัน โดยทดสอบประสาทรับความรู้สึกโดยใช้เครื่อง

            ฝ่าเท้าและการแช่เท้าด้วยสมุนไพรสามารถลดอาการ  มือ monofilament 10 g. ก่อนการทดลอง และหลัง
            ชาเท้าได้ ผู้วิจัยจึงคิดค้นนวัตกรรมรองเท้านวดกดจุด  ใส่รองเท้า 14 วัน และ 28 วัน โดยผู้เชี่ยวชาญ
            สมุนไพรบรรเทาอาการชาในผู้ป่วยเบาหวาน โดยน�า

            การกดจุดสะท้อนฝ่าเท้าและการแช่เท้าด้วยสมุนไพร         วัสดุที่ใช้ในก�รศึกษ�
            มาใช้ร่วมกัน สมุนไพรประกอบด้วย ไพล ผิวมะกรูด

            ตะไคร้ ใบมะขาม ขมิ้นชัน การบูร พิมเสน ให้สามารถ  วิธีก�รทำ�รองเท้�นวดกดจุดสมุนไพร
            ใช้งานง่าย เกิดความสะดวกสบาย ขณะใช้งานผู้ป่วย     วัสดุและอุปกรณ์
            เบาหวานสามารถท�ากิจวัตรประจ�าวันได้  การศึกษา     1.  ลูกปัด       2. ผ้า

            นี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาประสิทธิผลรองเท้านวด     3.  แผ่นรองเท้า   4. หนังหน้ารองเท้า
            กดจุดสมุนไพรบรรเทาอาการชาเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน      5.  ด้ายและเข็ม   6. กรรไกร
            และเปรียบเทียบอาการชาเท้าของผู้ป่วยเบาหวาน       7.  ไม้บรรทัด     8. ดินสอ

            ในกลุ่มที่ใส่รองเท้านวดกดจุดสมุนไพรกับกลุ่มที่ใส่     9.  มีดคัตเตอร์   10. แผ่นโฟม
            รองเท้าธรรมดา                                   11.  สมุนไพร


                        ระเบียบวิธีศึกษ�                ขั้นตอนก�รทำ�

                 การศึกษานี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง กลุ่มตัวอย่าง     1.  ตัดผ้าตามรูปเท้าขนาดที่เหมาะสม

            ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่มีอาการ     2.  ใส่แผ่นโฟม และลูกปัดตามจุดสะท้อนฝ่าเท้า
            ชาเท้า อย่างน้อย 1 จุด โดยประเมินด้วย Mono-  แล้วเย็บปิดให้สนิท
            filament 10 g. ที่มารับการรักษาที่สถานีอนามัย     3. ตัดแผ่นรองเท้าเป็นรูปเท้า และตัดหนัง
   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86