Page 86 - J Trad Med 21-1-2566
P. 86

66 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 21  ฉบับที่ 1  มกราคม-เมษายน 2566




           ตารางที่ 6  ก�รเปรียบเทียบประส�ทรับคว�มรู้สึกเท้�ในผู้ป่วยเบ�หว�นหลังก�รใส่รองเท้� ระหว่�งกลุ่มทดลองกับกลุ่ม
                    ควบคุม

            กลุ่มตัวอย่าง                        จำานวน      x       S.D.       t     p-value*
            กลุ่มทดลอง                             34      1.71      0.76
                                                                              19.38     0.00
            กลุ่มควบคุม                            34      5.24      0.74




                         อภิปร�ยผล                     จุดสะท้อนเท้า (Reflexology) ที่เชื่อว่าบริเวณเท้ามี

                การวิจัยครั้งนี้ อภิปรายผลตามวัตถุประสงค์การ  จุดสัมผัสซึ่งสัมพันธ์กับการท�างานของอวัยวะต่าง ๆ

           วิจัยได้ดังนี้                              ทั่วร่างกาย ยังสอดคล้องกับงานวิจัยของสัมฤทธิ์
                1.  จากผลการศึกษาประสิทธิผลรองเท้านวด  ปาปะขา ที่ท�าการศึกษาประสิทธิผลของการนวด
           กดจุดสมุนไพรบรรเทาอาการชาเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน   เท้าและกดจุดรวมกับร่วมการใช้ภูมิปัญญาไทยที่

           พบว่า การทดสอบประสาทรับความรู้สึกเท้าระหว่าง  บ้านนาเลา ต�าบลหนองไฮ อ�าเภอวาปีประทุม จังหวัด
           ก่อนการทดลองกับหลังการทดลองรองเท้านวดกด     มหาสารคาม พบว่า สามารถการลดอาการเท้าชาของ
           จุดสมุนไพร พบว่ามีความแตกต่างกันอย่างมีนัย  ผู้ป่วยเบาหวาน โดยค่าเฉลี่ยผลต่างของคะแนนอาการ

           ส�าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ทั้งนี้เพราะการนวด  เท้าชาหลังการทดลอง (12.20 ± 30 คะแนน) ต�่ากว่า
           กดจุดสะท้อนฝ่าเท้า เป็นการใช้รองเท้ากดที่ผิวหนัง  ก่อนการทดลอง (0.50 ± 1.17 คะแนน) 9.80 คะแนน
           บริเวณฝ่าเท้า จะกดตามจุดสะท้อนต่างๆ บนฝ่าเท้า   (95% CI 10.81-13.58) อย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติที่

           เพื่อกระตุ้นการท�างานของอวัยวะต่าง ๆ ในร่างกาย   ระดับ 0.05 (p < 0.01) ผลจากการใช้วิธีการนวดแบบ
           ในขั้นตอนของการนวดจะส่งผลในการกระตุ้นระบบ   ภูมิปัญญาไทยที่ใช้การผสมผสานการดูแลตนเองร่วม

           ไหลเวียนเลือด เกิดการน�าสารอาหารและออกซิเจน  กับการนวดบ�าบัดและการออกกาลังกายโดยใช้ท่าฤๅษี
           ไปเลี้ยงยังอวัยวะต่าง ๆ เซลล์ประสาท และกล้าม  ดัดตนร่วมด้วย ส่งผลให้ลดอาการเท้าชาได้ในที่สุด [11]
                                      [10]
           เนื้อในส่วนต่าง ๆ ของร่างกายได้  เนื่องจากการ     การศึกษานี้ใช้รองเท้านวดกดจุดสมุนไพรอัน
           นวดจะช่วยกระตุ้นการหลั่งสารสื่อประสาท และสาร  มีส่วนประกอบของสมุนไพรคือ ไพล มีผลต่อระดับ
           ฮีสตามีน ซึ่งจะมีส่วนท�าให้หลอดเลือดมีการขยาย  กล้ามเนื้อที่ช่วยลดบรรเทาอาการหดเกร็ง แก้ปวด

           ตัว ท�าให้การไหลเวียนของเลือดสะดวกขึ้นเมื่อการ  เมื่อยกล้ามเนื้อ ลดอาการอักเสบ บวม เส้นตึง เมื่อย
           ไหลเวียนเลือดดีขึ้น เส้นประสาทที่อยู่ส่วนปลาย  ขบ เหน็บชา และลดอาการปวด การเคลื่อนไหวข้อ
           ได้รับออกซิเจนและอาหารมากขึ้น อาการชาจะลด   เท้าดีขึ้น มะกรูด ช่วยขับสารพิษที่อยู่ในร่างกายให้

           ลง อย่างไรก็ตามในการศึกษาครั้งนี้ที่พบว่าอาการ  ออกมาทางผิวหนัง แก้เมื่อยขบ ตะไคร้ ใช้ภายนอก
           ชาเท้าของผู้ป่วยเบาหวาน มีอาการชาเท้าหลังการ  ทาแก้อาการปวดบวมตามข้อ บรรเทาอาการปวดโรค
           ทดลองลดลงกว่าก่อนการทดลองนั้น สอดคล้อง      ข้ออักเสบ ปวดกล้ามเนื้อ ใบมะขาม มีผลต่อการรักษา

           กับทฤษฎีการแพทย์ทางเลือกในสาขาการนวดกด      แผลเบาหวาน ช่วยในการสมานแผล ขมิ้นชัน มีผล
   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91