Page 87 - J Trad Med 21-1-2566
P. 87

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 21  No. 1  Jan-Apr  2023  67




            ต่อโรคผิวหนัง แก้ผื่นคัน ขับกลิ่นและสิ่งสกปรกใน  ส่งเสริมให้เกิดการไหลเวียนของโลหิตไปเลี้ยงส่วน
            ร่างกาย  น�้าคั้นจากเหง้าสดทาแก้แผลถลอก แก้โรค  ต่าง ๆ ในร่างกายได้ดี ท�าให้อวัยวะและต่อมต่าง ๆ

            ผิวหนังผื่นคัน ลดการอักเสบ มีผลแก้เคล็ดขัดยอก   ท�างานได้อย่างมีประสิทธิภาพ [10]
            ช่วยลดอาการฟกช�้าบวม การบูร ใช้ทาถูนวดแก้ปวด      ทั้งนี้ผู้ป่วยโรคเบาหวานจะมีภาวะแทรกซ้อน
            แก้เคล็ดบวม ขัดยอก แพลง แก้ปวดข้อ แก้ปวดเส้น  เกิดขึ้นโดยอาการของเท้าที่เป็นอาการชาที่เกิดจาก

            ประสาท มีสรรพคุณของต�ารับในการบรรเทาอาการ   ปลายประสาทเสื่อม เนื่องจากเส้นเลือดส่วนปลาย
            ปวดตามเส้นเอ็น กล้ามเนื้อ มือ เท้า ตึงหรือชา และ  ตีบตันอาการนี้จะเกิดขึ้นกับเส้นประสาทในส่วนที่ท�า
            พิมเสน เป็นส่วนผสมใน “ต�ารับยาสีผึ้งบี้พระเส้น’’ ใช้  หน้าที่รับความรู้สึก เส้นประสาทควบคุมการท�างาน

                                 [12]
            ถูนวดเส้นที่แข็งให้หย่อนได้   จากการศึกษาแสดงให้  ของกล้ามเนื้อ และเซลล์ประสาทในระบบประสาท
            เห็นว่ารองเท้านวดกดจุดสมุนไพรที่มีสมุนไพรบรรจุ มี  อัตโนมัติ ซึ่งมีวิธีการดูแลเท้าไม่ให้เกิดการสูญเสีย
            ผลต่อการลดอาการชาเท้าในผู้ป่วยเบาหวานได้    ด้วยวิธีการนวดกดจุดจุดสะท้อนฝ่าเท้า ลดอาการ

                 2.  จากผลการศึกษาอาการชาเท้าของผู้ป่วย   ชาเท้าจึงเป็นไปตามหลักของแนวคิดการนวดตาม
                                                                    [13]
            เบาหวานในกลุ่มที่ใส่รองเท้านวดกดจุดสมุนไพร  แพทย์ทางเลือก   เมื่อมีการใส่รองเท้านวดกดจุด
            กับกลุ่มที่ใส่รองเท้าธรรมดา พบว่า ก่อนการทดลอง  สมุนไพร จึงเป็นการช่วยให้การท�างาน ของระบบต่างๆ
            และหลังการทดลองอาการชาเท้าของผู้ป่วยเบาหวาน  ในร่างกายดีขึ้น ส่งผลให้การไหลเวียนโลหิตมายังเท้า
            นั้นแตกต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติที่ระดับ   ได้ดีเช่นกัน ท�าให้ช่วยลดอาการชาที่เท้าของกลุ่มผู้ป่วย

            0.01 ทั้งนี้จะเห็นได้ว่าจากการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ย  โรคเบาหวาน นอกจากนี้ยังสอดคล้องกับงานวิจัยของ
            ของอาการชาเท้าภายหลังการใส่รองเท้านวดกดจุด  นิรุชา นิธิชัย  ที่ได้ศึกษาพฤติกรรมการสวมใส่รองเท้า

            สมุนไพร พบว่าอาการชาเท้าในวันที่ 1 มากกว่าวัน  ที่ตัดเฉพาะผู้เป็นเบาหวาน กลุ่มตัวอย่างคือผู้เป็น
            ที่ 14 และวันที่ 14 มากกว่าวันที่ 28 แสดงให้เห็นว่า   เบาหวานที่มาตรวจเท้าและได้รับการตัดรองเท้าเฉพาะ
            ยิ่งใส่รองเท้านวดกดจุดสมุนไพรอย่างต่อเนื่อง ยิ่ง  ผู้เป็นเบาหวาน พบว่า การรับรู้ความเสี่ยงของการเกิด

            ท�าให้อาการชาเท้าลดลง และจากการเปรียบเทียบค่า  ผลเท้าเบาหวาน การรับรู้ความรุนแรงของการเกิด
            เฉลี่ยของอาการชาเท้าหลังการใส่รองเท้าธรรมดากลุ่ม  แผลเท้าเบาหวานและการรับรู้ประโยชน์ของการสวม
            ควบคุมในวันที่ 1, 14 และ 28 พบว่าอาการชาเท้าหลัง  ใส่รองเท้าที่ตัดเฉพาะผู้เป็นเบาหวานมีความสัมพันธ์

            การใส่รองเท้าธรรมดาวันที่ 1 วันที่ 14 และวันที่ 28   ทางบวกกับพฤติกรรมการสวมใส่รองเท้าที่ตัดเฉพาะ
            อาการชาเท้ายังไม่มีความแตกต่างกัน แสดงว่ารองเท้า  ผู้เป็นเบาหวาน ในการรับรู้อุปสรรคของการสวมใส่
            นวดกดจุดสมุนไพรมีความส�าคัญอย่างยิ่งส�าหรับ  รองเท้าที่ตัดเฉพาะผู้เป็นเบาหวานมีความสัมพันธ์ทาง

            ผู้ป่วยเบาหวาน การนวดกดจุดสะท้อนฝ่าเท้าช่วย  ลบกับพฤติกรรมการสวมใส่รองเท้าที่ตัดเฉพาะผู้เป็น
            กระตุ้นระบบไหลเวียนโลหิต ช่วยน�าสารอาหารและ  เบาหวาน (r = -0.519, p < 0.01) [14]

            ออกซิเจนไปเลี้ยงยังอวัยวะส่วนปลายเซลล์ประสาท     นอกจากนี้ยังสอดคล้องกับงานวิจัยของวันนิศา
            และกล้ามเนื้อในส่วนต่าง ๆ ของร่างกายได้ดีขึ้น   รักษามาตย์  ซึ่งได้ท�าการศึกษาประสิทธิผลของการ
   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92