Page 156 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2565
P. 156

354 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก      ปีที่ 20  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2565




           แล้ว [7-28]  และที่ก�าลังด�าเนินการพัฒนา [31-40]  (ตาราง     5.1  General characteristics: ข้อก�าหนดที่
           ที่ 3-4) ส่วนเกณฑ์มาตรฐานด้านคุณภาพและความ  เป็นลักษณะทางกายภาพ

           ปลอดภัยของการผลิตผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์           5.2  Identifications: การพิสูจน์เอกลักษณ์โดย
           แผนจีนของคณะท�างานชุดที่ 2 (WG2) ซึ่งเป็นคณะ  จะใช้การตรวจลักษณะทางมหภาค, ลักษณะจุลภาค,
           ท�างานด้านคุณภาพและความปลอดภัยของการผลิต    การตรวจด้วยโครมาโทกราฟีแบบชั้นบาง (Thin-

           ผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์แผนจีน มีมาตรฐานที่เกี่ยว  Layer Chromatography) หรือการตรวจทางเคมี
           กับผลิตภัณฑ์ยาจากสมุนไพร [41-58]  (ตารางที่ 5-6)      5.3  Marker compound (s): ข้อก�าหนดเกี่ยว
                มาตรฐานวัตถุดิบสมุนไพรของ ISO/TC 249   กับปริมาณสารส�าคัญ โดยก�าหนดเป็นร้อยละขั้นต�่า

           (WG1) จะประกอบไปด้วยหัวข้อต่าง ๆ และข้อก�าหนด  ของปริมาณสารส�าคัญในสมุนไพรนั้น
           มาตรฐาน ได้แก่                                  5.4  Extractives: การทดสอบเพื่อหาปริมาณ
                0.  Foreword: ข้อมูลเกี่ยวกับ ISO โดยสังเขป  สิ่งสกัดส�าหรับก�าหนดเป็นร้อยละขั้นต�่าของปริมาณสิ่ง

                0.  Introduction: ค�าชี้แจงเบื้องต้นเกี่ยวกับ  สกัดนั้นเมื่อใช้ตัวท�าละลายต่างกัน  โดยทั่วไปแบ่งตาม
           สมุนไพร ส่วนที่ใช้ การใช้ประโยชน์ และเหตุผลของ  ชนิดตัวท�าละลาย ได้แก่ water-soluble extractive,

           การน�าสมุนไพรชนิดนี้มาพัฒนาเป็นมาตรฐานระดับ  ethanol-soluble extractive, chloroform-soluble
           สากล                                        extractive, hexane-soluble extractive
                1.  Scope: ขอบเขตโดยย่อของมาตรฐาน          5.5  Contamination: ข้อก�าหนดการปน

           เช่น เป็นมาตรฐานของสมุนไพรชนิดใด ส่วนที่ใช้  เปื้อนหรือสารเจือปน ซึ่งมีการก�าหนดปริมาณสูงสุด
           ของสมุนไพร และข้อก�าหนดด้านคุณภาพและความ    ที่อนุญาตให้ตรวจพบได้ เช่น

           ปลอดภัย                                            -  Foreign matter: ปริมาณสิ่งแปลกปลอม
                2.  Normative references: มาตรฐานอื่น ๆ ที่  เช่น ชิ้นส่วนอื่น ๆ ของสมุนไพรที่ไม่ใช่ตัวยา หรือสิ่ง
           เกี่ยวข้องส�าหรับใช้อ้างอิงในมาตรฐานฉบับนี้ ซึ่งส่วน  เจือปนอื่นที่ไม่ได้มาจากแหล่งก�าเนิดสมุนไพรนั้น ๆ

           ใหญ่มาตรฐานที่น�ามาอ้างอิงจะเป็นมาตรฐาน ISO ที่        -  Loss on drying or water content:
           ได้จัดพิมพ์แล้ว                             การตรวจหาปริมาณความชื้นของสมุนไพร
                3.  Terms and definitions: ค�าและนิยามของค�า         -  Ash: การวิเคราะห์ปริมาณเถ้าที่มาจาก

           ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง                        สารอนินทรีย์ที่มีในสมุนไพร โดยอาจมาจากสมุนไพร
                4.  Descriptions: รายละเอียดของสมุนไพร   โดยตรง และจากสารแปลกปลอมอื่นที่ไม่ได้มาจาก
           ได้แก่ ชื่อวิทยาศาสตร์ ส่วนที่ใช้เป็นยา ค�าบรรยาย  สมุนไพร เช่น ดิน ทราย  โดยทั่วไปแบ่งการวิเคราะห์

           ลักษณะทางกายภาพของสมุนไพร พร้อมรูปภาพ       ปริมาณเถ้าเป็น 4 ประเภท คือ total ash, sulfated
           ประกอบ และช่วงเวลาเก็บเกี่ยว                ash, acid-insoluble ash และ water-soluble ash

                5.  Requirements: เกณฑ์ข้อก�าหนดของ           -  Microbial limit: การวิเคราะห์การปน
           สมุนไพรซึ่งจะมีรายละเอียดของข้อก�าหนดมาตรฐาน  เปื้อนจุลชีพ
           ที่แตกต่างกัน เช่น                                 -  Pesticide residues:  การวิเคราะห์
   151   152   153   154   155   156   157   158   159   160   161