Page 160 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2565
P. 160

358 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก      ปีที่ 20  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2565




           ข้อความบนฉลาก                               ข้อมูลบรรณานุกรมเพื่ออ้างอิงมาตรฐานการทดสอบ
               10.  Packaging, storage and transporta-  หรือวิเคราะห์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เนื่องจากเป็นเอกสาร

           tion: ข้อก�าหนดของบรรจุภัณฑ์ การเก็บรักษา และ  ที่ประกาศเฉพาะเรื่อง จึงต้องมีการระบุเอกสารการ
           การขนส่ง                                    ทดสอบหรือการวิเคราะห์ต่าง ๆ ให้ครอบคลุมทั้งใน
               11.  Annex: รายละเอียดเพิ่มเติมของวิธีที่ใช้  ด้านคุณภาพและความปลอดภัย โดยต�ารามาตรฐาน

           ทดสอบตามที่ระบุในวิธีการทดสอบหรือรายละเอียด  ยาจะก�าหนดมาตรฐานการทดสอบหรือการวิเคราะห์
           เพิ่มเติมอื่น ๆ (ถ้ามี)                     ในส่วนบทน�า และภาคผนวกแล้ว จึงไม่มีข้อมูล
                                                       บรรณานุกรมต่าง ๆ ระบุไว้ที่มอโนกราฟนั้น
                          บทวิจำรณ์                        ส่วนเกณฑ์มาตรฐานของคณะท�างานชุดที่ 2

                จากเกณฑ์มาตรฐานของคณะท�างานชุดที่      (WG2) ซึ่งเป็นคณะท�างานด้านคุณภาพและความ
           1 (WG1)  ด้านคุณภาพและความปลอดภัยของ        ปลอดภัยของการผลิตผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์

           วัตถุดิบสมุนไพรและการแปรรูปแบบดั้งเดิม จะเห็น  แผนจีน จะเห็นได้ว่ามาตรฐานที่ก�าหนดจะเกี่ยวข้อง
           ว่ามีขอบเขตการจัดท�ามาตรฐานที่ครอบคลุมเกี่ยว  กับคุณภาพและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์จาก

           กับวัตถุดิบสมุนไพรทั้งหมดนอกเหนือจากส่วนที่ใช้  สมุนไพร โดยด้านการวิเคราะห์การปนเปื้อนที่อาจ
           ของวัตถุดิบสมุนไพร โดยมีการจัดท�ามาตรฐานเพื่อ  เกิดจากตัวสมุนไพรเอง เช่น สารส�าคัญบางชนิด และ
           ควบคุมคุณภาพทั้งในส่วนของเมล็ดและต้นกล้า รวม  สารกลุ่มแอฟลาทอกซิน หรืออาจเกิดจากกระบวนการ

           ถึงการก�าหนดมาตรฐานวัตถุดิบสมุนไพรที่ผ่านการ  เพาะปลูก เช่น ปริมาณโลหะหนัก และปริมาณสาร
           แปรรูปแบบดั้งเดิมส�าหรับน�ามาเตรียมยา (ตารางที่   ปราบศัตรูพืช หรืออาจเกิดจากกระบวนการผลิตและ

           3) ในส่วนของการก�าหนดการวิเคราะห์/ทดสอบ จะ  แปรรูป เช่น ปริมาณซัลเฟอร์ไดออกไซด์  ซึ่งมาตรฐาน
           คล้ายกับข้อก�าหนดของต�ารามาตรฐานยาจากประเทศ   การวิเคราะห์ที่มีการด�าเนินการนั้น เป็นมาตรฐานด้าน
           ต่าง ๆ ดังแสดงเปรียบเทียบในตารางที่ 7 โดยแต่ละ  คุณภาพและความปลอดภัยส�าหรับผลิตภัณฑ์จาก

           หัวข้อวิเคราะห์/ทดสอบ จะมีรายละเอียดของวิธีที่  สมุนไพรทุกผลิตภัณฑ์ ไม่ใช่การควบคุมคุณภาพ
           แตกต่างกันบ้าง รวมถึงค่าเกณฑ์ข้อก�าหนดมาตรฐาน  เฉพาะของผลิตภัณฑ์ที่มีชื่อการค้าใดชื่อการค้าหนึ่ง
           ที่อาจไม่เท่ากันกับเกณฑ์ที่ระบุในต�ารามาตรฐานยา

           ของแต่ละประเทศ (กรณีที่เป็นวัตถุดิบสมุนไพรชนิด              บทสรุป
           เดียวกัน) ทั้งนี้ เนื่องจากมีความหลากหลายของแหล่ง     นอกจากมาตรฐาน ISO ที่คุ้นเคยกัน เช่น
           ตัวอย่างวัตถุดิบสมุนไพรที่ได้มาจากความร่วมมือของ  มาตรฐานระบบคุณภาพ (ISO 9001) มาตรฐานระบบ

           ประเทศสมาชิก ซึ่งต่างจากต�ารามาตรฐานยาที่เป็น  จัดการสิ่งแวดล้อม (ISO 14000) และมาตรฐาน
           เกณฑ์มาตรฐานของแหล่งตัวอย่างวัตถุดิบสมุนไพร  คุณภาพห้องปฏิบัติการ (ISO/IEC 17025) ยังมี

           เฉพาะในประเทศนั้น ๆ นอกจากนี้ จะสังเกตได้ว่า  การด�าเนินการเกี่ยวกับมาตรฐานเรื่องที่เกี่ยวข้อง
           มาตรฐานของ ISO/TC 249 ซึ่งเป็นเอกสารที่มีราย  กับสาขาความเชี่ยวชาญต่าง ๆ โดยมีคณะท�างาน
           ละเอียดของการวิเคราะห์ต่าง ๆ แล้ว ยังมีส่วนของ  วิชาการ เพื่อพิจารณาเรื่องที่เกี่ยวข้องกับสาขาความ
   155   156   157   158   159   160   161   162   163   164   165