Page 115 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2565
P. 115

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 20  No. 2  May-Aug  2022  313




            สามารถลดการปวดประสาท อาการนอนไม่หลับ และ    เสี่ยงต่อสุขภาพเกี่ยวกับการเสพหรือใช้กัญชาออก
            รักษาอาการปวดเส้นประสาทอย่างรุนแรง ขึ้นทะเบียน  เป็น (1) ผลกระทบต่อระบบประสาทส่วนกลาง (2) ผล

            ยาในประเทศแคนาดา นิวซีแลนด์และอีก 8 ประเทศ  กระทบต่ออวัยวะอื่น ๆ และ (3) ผลกระทบต่อสังคม
            ในยุโรป [2]                                 นอกจากนี้กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ได้
                                                                                          ์[8]
                 ส�าหรับประเทศไทย  ดร.ภญ.ผกาทิพย์       จัดท�าค�าแนะน�า การใช้กัญชาทางการแพทย  ซึ่งมี
            รื่นระเริงศักดิ์ ภาควิชาเภสัชกรรม คณะเภสัชศาสตร์   ข้อห้ามใช้ผลิตภัณฑ์ที่มี THC เป็นส่วนประกอบกับ
            มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมกับกลุ่มนักวิจัยต่าง ๆ ได้  ผู้ที่มีประวัติแพ้ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการสกัดกัญชา  ผู้
            รวบรวมผลการศึกษาเกี่ยวกับกัญชากับการรักษา   ที่เป็นโรคจิตมาก่อน หรือ โรควิตกกังวล (anxiety

                                               [3]
            โรค (therapeutic potential of cannabis)  โดย  disorder)  และหลีกเลี่ยงการใช้ในสตรีมีครรภ์ สตรีที่
            ได้สรุปไว้ว่า                               ให้นมบุตร รวมถึงสตรีที่วางแผนจะตั้งครรภ์เนื่องจาก
                 กัญชามีประโยชน์สามารถรักษาโรคต่าง ๆ เช่น   มีรายงานการศึกษาพบว่ามีทารกคลอดก่อนก�าหนด

            ช่วยลดอาการคลื่นไส้ อาเจียน จากการได้รับเคมีบ�าบัด   ทารกน�้าหนักตัวน้อย รวมถึงพบ cannabinoids ใน
                                         [4]
            (antiemetic effect): Alexander  ช่วยกระตุ้น   น�้านมแม่ได้ เป็นต้น
            ความอยากอาหารในผู้ป่วยมะเร็งและเอดส์ (appetite      จากประโยชน์และโทษรวมถึงข้อควรระวังใน
                                               [3]
            stimulation): ผลการวิจัยของ Alexander   พบ  การใช้กัญชาดังกล่าว ผู้วิจัยจึงสนใจศึกษาการรับรู้ใน
            ว่าสาร THC สามารถช่วยเพิ่มความอยากอาหารให้  การใช้กัญชารักษาโรค การยอมรับการใช้กัญชารักษา

            ผู้ป่วยมะเร็งและเอดส์ได้ เมื่อมีการทดลองใช้ทาง  โรค ซึ่งการรับรู้การใช้กัญชารักษาโรคจากการศึกษา
            คลินิกเป็นเวลา 4-6 สัปดาห์ และได้รับการอนุมัติให้ใช้  นี้ เกิดจากบริบทสิ่งแวดล้อมภายนอกที่เป็นการรับรู้

            สาร dronabinol ซึ่ง เป็นอนุพันธ์ของสาร THC เพื่อ  ข้อมูลข่าวสารที่เห็นหรือได้ยินจากสื่อต่าง ๆ เป็นการ
            เพิ่มความอยากอาหารได้ ช่วยลดอาการปวด และลด  รับรู้ขั้นต้นเกี่ยวกับกัญชา และการรับรู้จากสภาพ
            อาการปลอกประสาทเสื่อม: Alexander  ในปี ค.ศ.   แวดล้อมในตัวบุคคล เป็นการรับรู้ที่เกิดจากแรงขับ
                                           [4]
                         [5]
            1975 Munson  เป็นนักวิจัยกลุ่มแรกที่รายงานว่า  ภายในเมื่อรับรู้จากบริบทภายนอกแล้วน�ามาทดลอง
            สาร THC สามารถยับยั้งการเติบโตของเซลล์มะเร็ง  ใช้ เช่น สูดดมกลิ่น เสพแบบบุหรี่ หรือเคี้ยวกินใบสด
            ปอด และยับยั้งการเติบโตของเนื้องอกมะเร็งในหนู  เป็นต้น แต่ยังมีบางคนที่ไม่ยอมรับคือไม่สนใจ แล้ว

            ทดลองได้ หลังจากนั้นได้มีการวิจัยเพิ่มขึ้นในเรื่องดัง  เลิกไป ยังไม่สนองตอบการรับรู้ที่จะน�ามาใช้ เพราะ
            กล่าวและพบว่าสารหลายชนิดในกลุ่ม cannabinoids   มันเป็นเรื่องความรู้ใหม่ ส่วนการยอมรับเกี่ยวกับการ
            (THC, CBD) และ endocannabinoids[6] สามารถ   ใช้กัญชารักษาโรค เป็นการยอมรับที่เกิดหลังจากการ

            ต้านการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็งชนิดต่าง ๆ ได้   รับรู้ จนถึงขั้นตัดสินใจยอมรับ เพื่อน�ามาใช้รักษาหรือ
                 สารประกอบในกัญชามีผลต่อร่างกายที่หลาก  แนะน�าให้คนอื่นใช้ ในขั้นการยอมรับนื้ จึงมีการน�ามา

            หลาย จากรายงานเรื่อง The health and social    ใช้ที่คิดว่ามีประโยชน์ในการรักษาโรค หรือยอมรับว่า
            effects of nonmedical cannabis use ขององค์การ  เป็นสิ่งหรือวิธีสุดท้ายแล้วจึงไม่กลัวว่าจะเกิดอันตราย
                                          [7]
            อนามัยโลกในปี ค.ศ. 2016 ได้สรุปโทษ หรือความ  อย่างไร แต่บางคนยอมรับว่าดีเพราะบรรเทาอาการที่
   110   111   112   113   114   115   116   117   118   119   120