Page 116 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2565
P. 116

314 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก      ปีที่ 20  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2565




           เป็นอยู่ จึงมีทัศนคติเชิงบวก ที่ยอมรับและน�ากัญชา  ประชำกรและกลุ่มตัวอย่ำง
           มาใช้ หรือ มีการปฏิบัติตามสิ่งที่รู้หรือการบอกต่อ โดย     อสม. ในอ�าเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี จ�านวน

           เลือกศึกษาในกลุ่มที่เป็นอาสาสมัครสาธารณสุขประจ�า  2,728 คน ค�านวณกลุ่มตัวอย่างที่ทราบประชากร
           หมู่บ้าน (อสม.) เนื่องจาก อสม. เป็นตัวแทนประชาชน  แน่นอนโดยใช้สูตรในการค�านวณของ Daniel, 2010 [9]
           ที่ได้รับคัดเลือกขึ้นมา เพื่อให้ปฏิบัติหน้าที่ เฝ้าระวัง   โดยก�าหนดระดับความเชื่อมั่นที่ร้อยละ 95.0 ค่า

           ดูแลในเรื่องสุขภาพและอนามัยของประชาชน ใน    ความคลาดเคลื่อนสามารถยอมรับได้ เท่ากับ 0.05
           ระแวกที่ตนเองอยู่อาศัย อสม. จึงมีการพบปะพูดคุย  ค�านวณได้กลุ่มตัวอย่าง = 336.62 เพื่อป้องกันความ
           กับประชาชนในพื้นที่นั้นอยู่เป็นประจ�า ท�าให้สามารถ  ผิดพลาดและความไม่สมบูรณ์ของข้อมูล ผู้วิจัยจึง

           เป็นตัวแทนของประชาชนในพื้นที่นั้นได้ อีกทั้งจักได้  เพิ่มกลุ่มตัวอย่างอีกร้อยละ 10.0 ได้กลุ่มตัวอย่าง
           น�าข้อมูลไปเผยแพร่ต่อกับประชาชนทั่วไป เพื่อให้มี  เท่ากับ 370 ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ (strati-
           การน�ากัญชาไปใช้ในทางการแพทย์ได้อย่างเหมาะสม    fied random sampling) ตามพื้นที่รับผิดชอบของ

           และสามารถให้ค�าแนะน�าหรือควบคุมดูแลปัญหาข้าง  โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�าบล (รพสต.) จากนั้น
           เคียงได้อย่างเหมาะสมตามหลักการวิทยาศาสตร์ที่  สุ่มเลือกกลุ่มตัวอย่างในแต่ละ รพ.สต. โดยการจับ

           น่าเชื่อถือต่อไป                            ฉลาก ค�านวณกลุ่มตัวอย่างของแต่ละ รพ.สต. โดย
                วัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อศึกษาการรับรู้ในการ  ใช้สูตรค�านวณขนาดตัวอย่างที่ทราบค่าประชากร
           ใช้กัญชารักษาโรค การยอมรับการใช้กัญชารักษาโรค   เพื่อประมาณค่าสัดส่วนของประชากร โดยการเทียบ

           และหาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้และการยอมรับ  บัญญัติไตรยางศ์
           การใช้กัญชารักษาโรคกับการน�ากัญชาไปใช้ในการ

           รักษาโรคของประชาชน โดยเลือกศึกษาประชาชน     เครื่องมือที่ใช้ในกำรวิจัย
           ในกลุ่มที่เป็นอาสาสมัครสาธารณสุขประจ�าหมู่บ้าน      แบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ (แบบ
           (อสม.) ในเขตอ�าเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี  สัมภาษณ์เก็บข้อมูลจากประธาน อสม.ต�าบล จ�านวน

                                                       13 คน) ผ่านการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ โดยการ
                     วิธีกำรด�ำเนินกำรวิจัย            ตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ

                การศึกษานี้เป็นการศึกษาแบบผสมวิธี (mixed   3 ท่าน และหาความเชื่อมั่น โดยใช้ค่าสัมประสิทธิ์

           methods) เป็นการศึกษาเชิงส�ารวจและเชิงคุณภาพ  แอลฟาของครอนบาค (Cronbach’s  Alpha  Coeffi-
           ร่วมกัน โดยเชิงคุณภาพเป็นการสัมภาษณ์เชิงลึก ตาม  cient) ได้ค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.929 แบบสอบถาม
           แบบสัมภาษณ์ที่มีโครงสร้าง เก็บข้อมูลกับประธาน   แบ่งข้อมูลออกเป็น 5 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ 1 เป็นข้อมูล

           อสม.ต�าบล ในอ�าเภออู่ทอง  เก็บรวบรวมข้อมูลระหว่าง  ทั่วไป จ�านวน 5 ข้อ ส่วนที่ 2 เป็นข้อมูลการรับรู้ในการ
           เดือนสิงหาคม–ตุลาคม พ.ศ. 2563 ผ่านการรับรองจาก  ใช้กัญชารักษาโรค จ�านวน 11 ข้อ ส่วนที่ 3 เป็นข้อมูล

           คณะกรรมการพิจารณาจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์   การยอมรับการใช้กัญชารักษาโรค จ�านวน 8 ข้อ ส่วน
           มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น ตามเอกสารรับรองเลขที่    ที่ 4 เป็นข้อมูลการใช้กัญชารักษาโรค จ�านวน 22 ข้อ
           WTU 2563–0030                               และส่วนที่ 5 เป็นข้อคิดเห็นของผู้ให้ข้อมูล
   111   112   113   114   115   116   117   118   119   120   121