Page 84 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 20 ฉบับที่ 1
P. 84

64 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก        ปีที่ 20  ฉบับที่ 1  มกราคม-เมษายน 2565




             ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพสูงกว่ากลุ่มควบคุม   ครั้งจนเกิดเป็นทักษะ  ทั้งนี้ การฝึกอบรมยังเป็น
                                                                          [9]
             อย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (ตารางที่ 3)    กระบวนการที่จัดขึ้นเพื่อเพิ่มความรู้ ความช�านาญ
                                                         และความสามารถของบุคคลให้สามารถปฏิบัติหน้าที่
                           อภิปรำยผล                     ได้อย่างมีประสิทธิภาพ  โดยเฉพาะอย่างยิ่งอาสา
                                                                           [14]
                 ก่อนจัดโปรแกรมฝึกอบรมการปฏิบัติงาน      สมัครสาธารณสุขประจ�าหมู่บ้านควรน�าความรู้ไป

             ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพส�าหรับอาสาสมัคร  ปฏิบัติจริงในพื้นที่   ซึ่งโปรแกรมฝึกอบรมการปฏิบัติ
                                                                      [4]
             สาธารณสุขประจ�าหมู่บ้านที่พัฒนาขึ้นโดยประยุกต์ใช้  งานภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพของอาสาสมัคร

             ทฤษฎี Knowledge Attitude Practice (KAP)  ได้  สาธารณสุขประจ�าหมู่บ้านสามารถน�าไปใช้ในการเพิ่ม
                                                 [9]
             คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง โดยให้กลุ่ม  ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานภูมิปัญญาท้องถิ่นด้าน
             ทดลองและกลุ่มควบคุมมีคุณลักษณะทางประชากร    สุขภาพที่อยู่ในระดับต�่าให้อยู่ในระดับปานกลางหรือ

             คล้ายคลึงกัน ภายหลังจัดโปรแกรมฝึกอบรมไปแล้ว   ระดับสูงได้ และเพิ่มการปฏิบัติงานภูมิปัญญาท้องถิ่น
             4 สัปดาห์ พบว่า กลุ่มควบคุมมีคะแนนเฉลี่ยความ  ด้านสุขภาพจ�านวน 1-2 ครั้งต่อเดือน ร้อยละ 91.2
                                                                                               [6]
             รู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติงานภูมิปัญญาท้องถิ่นด้าน  ให้เป็นไปตามเกณฑ์ที่ก�าหนดไว้อย่างน้อย 4 ครั้งต่อ
             สุขภาพไม่แตกต่างกับก่อนจัดโปรแกรมฝึกอบรม    เดือนได้
                                                               [2]
             และต�่ากว่ากลุ่มทดลอง กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ย

             ความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติงานภูมิปัญญาท้องถิ่น           ข้อสรุป
             ด้านสุขภาพหลังจัดโปรแกรมฝึกอบรมสูงกว่าก่อน      โปรแกรมฝึกอบรมการปฏิบัติงานภูมิปัญญาท้อง
             จัดโปรแกรมฝึกอบรมและสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่าง  ถิ่นด้านสุขภาพส�าหรับอาสาสมัครสาธารณสุขประจ�า

             มีนัยส�าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 แสดงให้เห็นว่า   หมู่บ้านสามารถเพิ่มความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติ
             โปรแกรมฝึกอบรมการปฏิบัติงานภูมิปัญญาท้องถิ่น  งานภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพของอาสาสมัคร
             ด้านสุขภาพส�าหรับอาสาสมัครสาธารณสุขประจ�า   สาธารณสุขประจ�าหมู่บ้านได้ จึงควรน�าไปใช้ให้

             หมู่บ้านที่พัฒนาขึ้นสามารถเพิ่มความรู้ ทัศนคติ และ  ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายยิ่งขึ้นและประยุกต์ใช้ใน
             การปฏิบัติงานภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพของอาสา  พื้นที่อื่น ๆ ตามความเหมาะสมต่อไป และควรน�า

             สมัครสาธารณสุขประจ�าหมู่บ้านได้ ซึ่งเป็นไปตาม  โปรแกรมฝึกอบรมการปฏิบัติงานภูมิปัญญาท้องถิ่น
             ทฤษฎี Knowledge Attitude Practice (KAP) ที่  ด้านสุขภาพส�าหรับอาสาสมัครสาธารณสุขประจ�า
             กล่าวว่า ความรู้คือสิ่งที่มนุษย์มีความคิดได้จากข้อ  หมู่บ้านที่พัฒนานี้ไปประยุกต์ในการจัดโปรแกรมฝึก

             เท็จจริง ทัศนคติมีรากฐานมาจากความเชื่อที่อาจส่ง  อบรมการปฏิบัติงานภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพ
             ผลต่อการปฏิบัติในอนาคตได้ โดยมีทัศนคติเป็นสิ่ง  ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจ�าหมู่บ้านในพื้นที่

             ที่เชื่อมโยงระหว่างความรู้กับการปฏิบัติซึ่งประกอบ  อื่น ๆ หรือกลุ่มเป้าหมายอื่น ๆ ที่ใกล้เคียงตามความ
             ด้วยการสังเกต การลงมือปฏิบัติ ความถูกต้อง ความ  เหมาะสม
             ต่อเนื่อง และความเป็นธรรมชาติ เมื่อปฏิบัติบ่อย
   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89