Page 122 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 20 ฉบับที่ 1
P. 122
102 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 20 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2565
พื้นบ้านส่วนมากเป็นผู้สูงอายุที่เป็นที่เคารพ ศรัทธา รักษา ความเจ็บป่วยลดลง และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
การศึกษาเพื่อถอดองค์ความรู้จากหมอพื้นบ้านใน และหมอพื้นบ้านจากจังหวัดอุบลราชธานีและ
การรักษาอาการอื่น ๆ ที่ได้ผลดีและมีผู้มารับบริการ จังหวัดศรีสะเกษซึ่งเป็นตัวแทนของความแตกต่าง
เป็นจ�านวนมากก็ควรมีการศึกษาเพิ่มเติมต่อไป การ ของวัฒนธรรมท้องถิ่น แต่กลับพบว่ามีการรักษา
ศึกษาในครั้งนี้ท�าให้ได้กระบวนการรักษาอาการปวด โรคข้อเข่าเสื่อมด้วยการนวดที่คล้ายคลึงกัน ต่าง
ขัดเข่า ข้อเข่าเสื่อม โดยเชื่อมโยงกับความรู้พื้นฐาน เพียงภาษาที่ใช้ พิธีกรรมและเทคนิคการรักษา
วิทยาศาสตร์การแพทย์ เพราะการเรียนรู้แนวเส้นการ เพียงเล็กน้อยตามความถนัดของแต่ละบุคคล
นวดบนพื้นฐานของกายวิภาคศาสตร์ท�าให้เข้าใจการ หมอพื้นบ้านยังมีบทบาทในการดูแลสุขภาพของ
ท�างานของร่างกาย ซึ่งเป็นความรู้ขั้นพื้นฐานที่ส�าคัญ ชุมชนอย่างต่อเนื่อง แต่เนื่องจากหมอพื้นบ้าน
ที่ท�าให้การนวดนั้นมีประสิทธิผลและปลอดภัยเพื่อ ส่วนใหญ่อายุมากขึ้นและบางคนไม่มีผู้สืบทอดวิชา
อธิบายให้คนรุ่นหลัง โดยเฉพาะนักศึกษาแพทย์แผน- ดังนั้นการรวบรวมองค์ความรู้หมอพื้นบ้านจึงมีความ
ไทย ทั้งประชาชนทั่วไป บุคลากรทางการแพทย์ เข้าใจ ส�าคัญและจ�าเป็น ทั้งนี้เป็นการอนุรักษ์ภูมิปัญญา
ภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้านบนพื้นฐานของความเป็น พื้นบ้านแล้ว หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรสนับสนุนการ
วิทยาศาสตร์และคนรุ่นหลังได้ตระหนักถึงคุณค่าและ บันทึกข้อมูลและถ่ายทอดองค์ความรู้แก่ลูกหลาน
เข้าใจถึงภูมิปัญญาพื้นบ้านเพื่อน�าองค์ความรู้ที่ได้ใน หรือคนในท้องถิ่น เพื่อไม่ให้องค์ความรู้สูญหายไป
ครั้งนี้ไปใช้ประโยชน์ในด้านสาธารณสุขขั้นพื้นฐาน จากสังคมไทย การศึกษานี้เป็นประโยชน์ต่อผู้ประกอบ
และประยุกต์ใช้ในการดูแลสุขภาพแบบผสมผสานใน อาชีพแพทย์แผนไทยที่ให้การนวดรักษา สามารถน�า
ผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อมซึ่งเป็นโรคที่พบมากในปัจจุบัน เทคนิควิธีการจากการศึกษานี้ไปประยุกต์ใช้ได้ แต่
ทั้งกับบุคคลใกล้ตัวและบุคคลอื่นในสังคมได้ อย่างไรก็ตามการศึกษาองค์ความรู้การรักษาโรค
ข้อเข่าเสื่อมของหมอพื้นบ้านนี้เป็นเพียงการเก็บ
ข้อสรุป รวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์ข้อมูลขั้นต้น จึงควรมี
จากการศึกษาองค์ความรู้การรักษาโรคข้อเข่า การศึกษาหลักการและเทคนิคพิเศษเชิงลึก รวมถึง
เสื่อมของหมอพื้นบ้าน พบว่าข้อเข่าเสื่อมเกิดจาก เก็บข้อมูลทางคลินิกเพื่อให้ทราบถึงประสิทธิภาพและ
การที่ผู้ป่วยมีอายุมากขึ้น มีการใช้งานของข้อเข่ามาก ประสิทธิผลในการรักษาเมื่อเปรียบเทียบกับการรักษา
น�้าหนักเกิน หรือการได้รับบาดเจ็บบริเวณกล้ามเนื้อ แบบแผนปัจจุบันต่อไป
หรือข้อเข่าแล้วไม่ได้รับการรักษา หรือท�าอิริยาบถ
เดิมซ�้า ๆ ท�าให้กล้ามเนื้อรอบเข่าท�างานหนักแข็งเกร็ง กิตติกรรมประกำศ
น�้าไขข้อน้อยลงในผู้สูงอายุท�าให้มีอาการเข่าขัด มีเสียง ขอขอบพระคุณหมอพื้นบ้านที่ให้ข้อมูลความ
ในเข่า ปวดเข่า การรักษามีหลากหลายรูปแบบทั้งแบบ รู้ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏ
ผสมผสานระหว่างการนวดรักษา การใช้ยาสมุนไพร อุบลราชธานีที่สนับสนุนงบประมาณ เจ้าหน้าที่แพทย์
และการสวดมนต์คาถา จากการสัมภาษณ์ผู้ป่วยที่ แผนไทย ชุมชน ที่ช่วยเหลือในการเก็บข้อมูลตลอด
ได้รับการรักษา พบว่าผู้ป่วยมีความพึงพอใจในการ การศึกษาในครั้งนี้