Page 106 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 20 ฉบับที่ 1
P. 106

86 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก        ปีที่ 20  ฉบับที่ 1  มกราคม-เมษายน 2565




             และการใช้สมุนไพรเฉพาะราย รวมถึงการที่แพทย์  หม้อเกลือ การประคบเต้านม และการส่งเสริมสุขภาพ
             แผนไทยบางส่วนที่ปฏิบัติงานไม่มีใบประกอบวิชาชีพ  และป้องกันโรคด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยซึ่ง
             การแพทย์แผนไทยด้านเวชกรรมไทยหรือการแพทย์    ถือว่าบทบาทในด้านดังกล่าวเป็นความท้าทายในการ

             แผนไทยประยุกต์  จึงอาจเป็นเหตุผลท�าให้สหวิชาชีพ  พัฒนาและส่งเสริมผู้ประกอบวิชาชีพแพทย์แผนไทย
                          [4]
             มีความเห็นว่าบทบาทและการท�างานร่วมกันในด้าน  ให้มีสมรรถนะตามความคาดหวังของทีมสหวิชาชีพ

             การตรวจ วินิจฉัย รักษาท�าได้ค่อนข้างจ�ากัด  เพื่อให้เกิดการยอมรับและพัฒนาการให้บริการการ
                 ส�าหรับมุมมองที่สหวิชาชีพมีความเห็น     แพทย์แผนไทยต่อไป
             สอดคล้องกับที่แพทย์แผนไทยมองตนเองคือ บทบาท      ส�าหรับในด้านการท�างานร่วมกัน ผลการศึกษา

             ในด้านการรักษาผู้ป่วยด้วยการนวด อบและประคบ  พบว่า มีลักษณะการท�างานร่วมกันที่สหวิชาชีพเห็นว่า
             สมุนไพร การติดตามอาการผู้ป่วยหลังการรักษา การ  แพทย์แผนไทยได้มีส่วนร่วมหรือเป็นทีมในการดูแล

             ให้ความรู้เรื่องการฟื้นฟูและดูแลสุขภาพตามศาสตร์  ผู้ป่วยร่วมกับสหวิชาชีพ แต่แพทย์แผนไทยเองกลับ
             การแพทย์แผนไทย การรักษาและฟื้นฟูผู้ป่วยที่  มองว่าตนเองมีส่วนร่วมในงานดังกล่าวค่อนข้างน้อย
             เป็นโรคอัมพฤกษ์หรือโรคอัมพาต ซึ่งผลการศึกษา  เช่น การท�างานร่วมกับเภสัชกรในการก�าหนดแนวทาง

             สอดคล้องกับข้อมูลในสถานบริการของรัฐ ของจังหวัด  การสั่งจ่ายยาสมุนไพร และการพิจารณาการสั่งซื้อยา
             พิษณุโลก ระหว่างปีงบประมาณ 2559-2563 ที่พบว่า  สมุนไพร หรือการท�างานร่วมกับนักกายภาพบ�าบัดใน
             ประมาณร้อยละ 50-60 ของการให้บริการผู้ป่วยนอก  การประสานส่งต่อหรือการก�าหนดแนวทางในการดูแล

             ด้านการแพทย์แผนไทยเป็นการให้บริการนวดแผน-   ผู้ป่วย การเข้าร่วมกับทีมสหสาขาวิชาชีพ เพื่อวางแผน
             ไทย และจากข้อมูลการเยี่ยมบ้านของแพทย์แผนไทย   การดูแลผู้ป่วย ซึ่งมีเหตุผลที่อาจเป็นไปได้ว่าแพทย์
             จ�าแนกตามกิจกรรม พบว่ากิจกรรมในด้านการให้ค�า  แผนไทยที่เป็นกลุ่มตัวอย่างในการศึกษานี้ส่วนใหญ่

             แนะน�า การสอน สาธิตด้านการแพทย์แผนไทย เป็น  มีอายุอยู่ในช่วง 20-30 ปี และมีระยะเวลาการปฏิบัติ
             กิจกรรมที่มีสถิติสูงสุดอันดับแรก รองลงมาคือ การ  งานต�่ากว่า 5 ปี ประกอบกับมีวิชาชีพอื่นที่เป็นผู้บังคับ

             นวดเพื่อการรักษา  นอกจากนี้ยังสอดคล้องกับการ  บัญชาและอยู่ภายใต้หน่วยงานอื่นซึ่งไม่ใช่แพทย์
                           [1]
             ศึกษาของวชิราพรรณ เดชสุวรรณ ที่พบว่าบทบาท   แผนไทย เป็นผู้บังคับบัญชา และแพทย์แผนไทยเอง
             หลักของแพทย์แผนไทย เป็นการนวด การประคบ      อาจไม่ได้รับหน้าที่เป็นตัวแทนของหน่วยงานในการ

             และอบสมุนไพร โดยโรคที่ให้บริการมากที่สุดคือ โรค  เข้าร่วมการท�างานกับสหวิชาชีพอื่นที่กล่าวมา จึงอาจ
             ที่เกี่ยวกับโครงสร้างกล้ามเนื้อ [2]         ท�าให้แพทย์แผนไทยที่เป็นกลุ่มตัวอย่างไม่รับรู้ถึง

                 ทั้งนี้มีบทบาทบางด้านที่สหวิชาชีพมีความเห็นว่า  บทบาทการท�างานร่วมกับสหวิชาชีพดังกล่าว ซึ่งหาก
             แพทย์แผนไทยสามารถปฏิบัติได้ ขณะที่แพทย์แผน-  พิจารณาร่วมกับผลการศึกษาด้านข้อจ�ากัดของการ
             ไทยมองตนเองว่ายังปฏิบัติได้จ�ากัด คือ การรักษา   ท�างานของแพทย์แผนไทยในการศึกษานี้พบว่า การมี

             ผู้ป่วยด้วยศาสตร์การกดจุดสะท้อนฝ่าเท้า การรักษา  ผู้บังคับบัญชาชั้นต้นเป็นวิชาชีพอื่น เป็นข้อจ�ากัดหนึ่ง
             ร่วมกับการแพทย์ทางเลือก การนวดเพื่อผ่อนคลาย   ในการท�างานในบทบาทของแพทย์แผนไทย เนื่องจาก
             การท�าหัตถการให้กับหญิงหลังคลอด เช่น การทับ  ความไม่เข้าใจหลักการหรือองค์ความรู้ด้านแพทย์
   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111