Page 101 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 20 ฉบับที่ 1
P. 101
J Thai Trad Alt Med Vol. 20 No. 1 Jan-Apr 2022 81
เห็นด้วยเล็กน้อย 3 เห็นด้วยมาก และ 4 เห็นด้วยมาก ศึกษา ซึ่งอยู่ในหน้าแรกของแบบสอบถามออนไลน์
ที่สุด จ�านวน 10 ข้อ หากตอบว่า “ยินยอมเข้าร่วมการวิจัย’’ แสดงว่าได้
[10]
1.3 การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ ในการ แสดงความสมัครใจเข้าร่วมการศึกษา กรณีที่ตอบ
ศึกษานี้ได้ตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือในด้านความ ว่า “ไม่ยินยอมเข้าร่วมการวิจัย’’ เป็นการสิ้นสุดการ
เที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (content validity) จากผู้ ตอบแบบสอบถามโดยอัตโนมัติ เมื่อสิ้นสุดการเก็บ
เชี่ยวชาญด้านการแพทย์แผนไทย ด้านสาธารณสุข รวบรวมข้อมูล ณ วันที่ 31 มีนาคม 2564 มีผู้ที่ยินยอม
และด้านการวิจัย จ�านวน 3 ท่าน เมื่อน�ามาวิเคราะห์ เข้าร่วมการศึกษาและตอบแบบสอบถามในกลุ่มสห-
ค่า index of item objective congruence (IOC) วิชาชีพและกลุ่มผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทย
ได้ค่าอยู่ระหว่าง 0.67-1.00 หลังจากนั้นน�ามาตรวจ จ�านวนทั้งสิ้น 68 คน และ 12 คน ตามล�าดับ
สอบความเที่ยงหรือความเชื่อมั่น (reliability) โดย 2.2 ข้อพิจารณาด้านจริยธรรมการวิจัย การ
น�าไปทดลองใช้กับกลุ่มสหวิชาชีพและกลุ่มผู้ประกอบ ศึกษานี้ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการจริยธรรมการ
วิชาชีพการแพทย์แผนไทยในจังหวัดอื่น จ�านวน 30 วิจัยในคน วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัด
คน ได้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคทั้งฉบับ พิษณุโลก คณะสาธารณสุขศาสตร์และสหเวชศาสตร์
เท่ากับ 0.919 โดยในแต่ละข้อมีค่าอยู่ระหว่าง 0.912- สถาบันพระบรมราชชนก (เอกสารรับรองเลขที่
0.922 SCPHPL 1/2564-2.23)
2.3 สถิติที่ใช้ในการศึกษา ใช้สถิติเชิงพรรณนา
2. วิธีกำรศึกษำ ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
2.1 การเก็บรวบรวมข้อมูล การศึกษานี้เก็บ ในการวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไป ข้อมูลมุมมองของทีม
รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามออนไลน์ ซึ่งมี สหวิชาชีพและผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทย
การจ�ากัดการเข้าถึงข้อมูลเฉพาะทีมที่เกี่ยวข้องกับ ต่อบทบาทการท�างานของผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์
การวิเคราะห์ข้อมูลเท่านั้น โดยแบบสอบถามที่ใช้ แผนไทย
นี้ถูกเชื่อมโยงกับระบบออนไลน์ (links) หรือรหัส
คิวอาร์ (quick response code; QR code) เพื่อส่งให้ ผลกำรศึกษำ
กับกลุ่มประชากรเป้าหมายที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์
การคัดเลือกเข้าร่วมการศึกษาในแต่ละกลุ่มวิชาชีพ 1. ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่ำง
ผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ทั้งระดับบุคคลและ กลุ่มสหวิชาชีพ ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง (ร้อยละ
ระดับหน่วยงานโดยทีมผู้ศึกษาและเครือข่าย ทั้งนี้ 85.3) มีอายุอยู่ในช่วง 31-40 ปี และ 41-50 ปี ร้อยละ
ค�าตอบที่ส่งกลับมาไม่มีข้อมูลที่สามารถระบุถึงผู้ให้ 36.8 และร้อยละ 24.9 ตามล�าดับ เป็นวิชาชีพพยาบาล
ข้อมูลได้ เช่น ชื่อ เลขที่บัตรประชาชน ชื่อของสถานที่ (ร้อยละ 64.7) รองลงมาคือ เภสัชกร (ร้อยละ 17.6) นัก
ท�างาน เป็นต้น โดยผู้เข้าร่วมการศึกษาทุกคนจะ กายภาพบ�าบัด (ร้อยละ 10.3) และแพทย์ (ร้อยละ 7.4)
ต้องแสดงความสมัครใจในการยินยอมเข้าร่วมการ และส่วนใหญ่เป็นผู้ปฏิบัติงาน (ร้อยละ 69.1) มีระยะ
ศึกษา หลังจากที่ได้อ่านข้อมูลรายละเอียดของการ เวลาปฏิบัติงานน้อยกว่า 15 ปี (ร้อยละ 63.2) ส�าหรับ