Page 105 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 20 ฉบับที่ 1
P. 105
J Thai Trad Alt Med Vol. 20 No. 1 Jan-Apr 2022 85
อภิปรำยผล ท�าหัตถการ เช่น กรณีมีภาวะความดันโลหิตสูง โดย
ผลการศึกษาในมุมมองของสหวิชาชีพที่มีต่อ ผ่านการประสานงานจากพยาบาล เป็นต้น ผลการ
แพทย์แผนไทยทั้งหมด 15 ข้อ/ด้าน พบว่ามีบทบาท ศึกษาที่ได้จากการศึกษานี้สอดคล้องกับผลการศึกษา
3 ด้าน ได้แก่ 1) บทบาทของผู้ประกอบวิชาชีพการ ของ วชิราพรรณ เดชสุวรรณ ซึ่งศึกษาบทบาทของ
[2]
แพทย์แผนไทยในคลินิกคู่ขนานโดยให้บริการผู้ป่วย แพทย์แผนไทยในโรงพยาบาลแพทย์แผนไทยเด่นชัย
โดยไม่จ�าเป็นต้องพบแพทย์ปัจจุบัน 2) บทบาทด้าน จังหวัดแพร่ โดยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ สัมภาษณ์
การตรวจรักษาโรคด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย กลุ่มบุคลากรและกลุ่มผู้ป่วยพบว่า บทบาทของแพทย์
ครอบคลุมทั้งในส่วนการซักประวัติ ตรวจร่างกาย แผนไทยยังคงอยู่ภายใต้อ�านาจของการแพทย์แผน-
วินิจฉัยโรค และการรักษา และ 3) บทบาทการนวด ปัจจุบัน เนื่องจากแพทย์แผนปัจจุบันมีอ�านาจในการ
แบบราชส�านักในการรักษาผู้ป่วย เป็นบทบาทที่สห- วินิจฉัยโรคเป็นหลัก การสั่งท�าหัตถการต่าง ๆ และ
วิชาชีพมองว่าแพทย์แผนไทยยังปฏิบัติได้อย่างจ�ากัด เป็นผู้ตัดสินใจว่าจะรักษาร่วมกับแพทย์แผนไทย [2]
ขณะที่แพทย์แผนไทยมองตนเองว่าสามารถปฏิบัติ ซึ่งย่อมส่งผลต่อเนื่องให้แพทย์แผนไทยไม่สามารถ
ได้มากที่สุด ซึ่งจะเห็นได้จากล�าดับของคะแนนเฉลี่ย รักษาโรคได้ตามศาสตร์ของแพทย์แผนไทยได้อย่าง
ทั้ง 3 ด้านดังกล่าว ในมุมมองของสหวิชาชีพกับมุม ครอบคลุม ทั้งนี้ผลการศึกษาที่ได้จากการศึกษานี้ชี้
มองของแพทย์แผนไทยมองตนเองมีความแตกต่าง ถึงข้อจ�ากัด โดยอ�านาจการตัดสินใจเป็นของแพทย์
ค่อนข้างมาก โดยเฉพาะบทบาทในคลินิกคู่ขนาน แผนปัจจุบันทั้งในส่วนการให้บริการผู้ป่วยในและ
ที่ล�าดับของคะแนนเฉลี่ยของสหวิชาชีพและแพทย์ ผู้ป่วยนอก รวมทั้งการดูแลหญิงตั้งครรภ์ ซึ่งเป็น
แผนไทย อยู่ล�าดับที่ 15 และ ล�าดับที่ 1 ตามล�าดับ เพียงการเข้าไปเสริมการรักษาของแพทย์แผนปัจจุบัน
ซึ่งผลการศึกษาด้านบทบาทนี้มีความสอดคล้องกับ กรณีที่เห็นชอบเท่านั้น และสอดคล้องกับข้อมูลของ
มุมมองด้านการท�างานร่วมกันที่ได้จากการศึกษานี้ สถานบริการของรัฐในจังหวัดพิษณุโลก ในช่วง 5 ปีที่
เช่นกัน ซึ่งเมื่อสหวิชาชีพมีความเห็นว่าแพทย์แผน- ผ่านมา ในปีงบประมาณ 2559-2563 ที่พบว่าสัดส่วน
ไทยยังสามารถปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการวินิจฉัย การวินิจฉัยโรคด้านการแพทย์แผนไทยมีเพียง
และรักษาได้อย่างจ�ากัด จึงท�าให้สหวิชาชีพมีความ ร้อยละ 7-11 และร้อยละ 3-5 ของจ�านวนครั้งของการ
เห็นว่าการท�างานของแพทย์แผนไทยกับแพทย์แผน- ให้บริการผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน ตามล�าดับ ทั้งนี้
[1]
ปัจจุบันในด้านการตรวจ วินิจฉัย รักษาร่วมกันท�าได้ อาจเป็นเพราะความรู้ ความเข้าใจ ทัศนคติ และความ
ค่อนข้างจ�ากัด เมื่อเปรียบเทียบกับการท�างานร่วมกัน มั่นใจของแพทย์แผนปัจจุบัน ในองค์ความรู้หรือหลัก
ในลักษณะอื่น ซึ่งเป็นเรื่องของการประสานส่งต่อ การของแพทย์แผนไทย ส่งผลให้เกิดการยอมรับใน
ผู้ป่วยระหว่างแพทย์แผนปัจจุบันมายังแพทย์แผนไทย แนวทางเวชปฏิบัติการรักษาแบบแพทย์แผนไทยใน
เช่น การส่งต่อมารับการนวดรักษา ฟื้นฟูร่างกายใน แนวทางการรักษาของแพทย์แผนปัจจุบัน [11-12]
กรณีผู้ป่วยติดเตียง การดูแลหญิงตั้งครรภ์หรือหลัง นอกจากนี้อาจเป็นเพราะความพร้อมด้านองค์
คลอดกรณีไม่มีน�้านมให้บุตร หรือแพทย์แผนไทยส่ง ความรู้ของแพทย์แผนไทยที่ยังขาดประสบการณ์และ
ต่อผู้ป่วยยังแพทย์แผนปัจจุบัน กรณีมีข้อห้ามในการ ขาดการใช้ทักษะด้านเวชกรรมไทยในโรคที่ซับซ้อน