Page 100 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 20 ฉบับที่ 1
P. 100

80 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก        ปีที่ 20  ฉบับที่ 1  มกราคม-เมษายน 2565




             ของจังหวัดพิษณุโลก จ�านวน 8 แห่ง โดยประชากร  คัดเลือกเข้าร่วมการศึกษาของแต่ละกลุ่ม
             ในการศึกษานี้ก�าหนดเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่ 1 เป็น      1.2 เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา  ประกอบด้วย
             กลุ่มของสหวิชาชีพ ซึ่งในการศึกษานี้ศึกษาเฉพาะ  แบบสอบถาม 2 ชุด โดยแบบสอบถามชุดที่ 1 เป็น

             ในกลุ่มวิชาชีพแพทย์ พยาบาล เภสัชกร และนัก   แบบสอบถามส�าหรับสหวิชาชีพ ประกอบด้วย 2
             กายภาพบ�าบัด ซึ่งเป็นวิชาชีพที่แพทย์แผนไทยมีการ  ส่วน คือ ส่วนที่ 1 เป็นข้อมูลทั่วไป ได้แก่ เพศ

             ท�างานร่วมกันในโรงพยาบาล จ�านวนทั้งหมด 654   อายุ วิชาชีพที่ปฏิบัติงาน ระยะเวลาในการท�างาน
             คน และประชากรในกลุ่มที่ 2 เป็นกลุ่มของผู้ประกอบ  ต�าแหน่งการปฏิบัติงาน โดยลักษณะค�าตอบเป็น
             วิชาชีพการแพทย์แผนไทย จ�านวน 15 คน รวมทั้งสิ้น   แบบเติมค�าและเลือกตอบ จ�านวน 5 ข้อ และส่วนที่

             669 คน (ข้อมูล ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2563)    2 เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับมุมมองของสหวิชาชีพ
                                              [5]
                 การค�านวณขนาดกลุ่มตัวอย่างในกลุ่มของ    ที่มีต่อผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยใน

             สหวิชาชีพ ใช้สูตรค�านวณที่ทราบจ�านวนประชากร  ด้านบทบาท (14 ข้อ) และการท�างานร่วมกันกับผู้
             ทั้งหมด (finite population) และทราบสัดส่วน    ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทย (15 ข้อ) ลักษณะ
             (proportion) ของประชากรตามลักษณะที่ต้องการ  ค�าตอบเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 4 ระดับ

             ศึกษา โดยก�าหนดให้ proportion (p) คือ สัดส่วน  (rating scale) โดยประยุกต์จากหลักการของ Bloom [10]
                 [6-7]
             ของการให้บริการแพทย์แผนไทยผสมผสานกับการ     คือ 1 ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง 2 เห็นด้วยเล็กน้อย 3 เห็น
             รักษาตามแผนปัจจุบัน (ร้อยละ 83.3) เท่ากับ 0.833 ,   ด้วยมาก และ 4 เห็นด้วยมากที่สุด จ�านวน 29 ข้อ
                                                   [8]
             error (d) ค่าความคลาดเคลื่อนที่ยอมรับได้ ในการ     ส�าหรับแบบสอบถามชุดที่ 2 เป็นแบบสอบถาม
             ศึกษานี้ก�าหนดเท่ากับ 0.10  และ alpha (α) = 0.05,   ส�าหรับผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทย ประกอบ
                                 [9]
             Z (0.975) = 1.96 ค�านวณได้กลุ่มตัวอย่างที่เป็นกลุ่ม  ด้วย 3 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 เป็นข้อมูลทั่วไป ได้แก่ เพศ

             สหวิชาชีพเท่ากับ (n) = 50 คน โดยเกณฑ์การคัดเลือก  อายุ ระยะเวลาในการท�างาน หน่วยงานที่เป็นผู้บังคับ
             เข้าร่วมการศึกษาคือ ท�างานในต�าแหน่งวิชาชีพ แพทย์   บัญชา วิชาชีพที่เป็นผู้บังคับบัญชา ลักษณะค�าตอบ

             พยาบาล เภสัชกร และนักกายภาพบ�าบัด ส�าหรับกลุ่ม  เป็นแบบเติมค�าและเลือกตอบ จ�านวน 5 ข้อ ส่วนที่
             ตัวอย่างที่เป็นผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทย   2 เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับบทบาทการท�างานของ
             เก็บทุกหน่วยของประชากรทั้งหมด 15 คน เกณฑ์   ผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทย (14 ข้อ) และ

             การคัดเลือกเข้าร่วมการศึกษาคือ เป็นผู้ที่จบการ  ลักษณะการท�างานร่วมกับสหวิชาชีพ (15 ข้อ) ลักษณะ
             ศึกษาในหลักสูตรระดับปริญญาตรี สาขาการแพทย์  ค�าตอบเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 4 ระดับ

             แผนไทยหรือสาขาการแพทย์แผนไทยประยุกต์ โดย    (rating scale) โดย 1 ไม่เคยปฏิบัติเลย 2 ปฏิบัติ
             กลุ่มตัวอย่างทั้งสองกลุ่มต้องเป็นผู้ที่ท�างานอยู่ใน  น้อยครั้ง 3 ปฏิบัติบ่อยครั้ง และ 4 ปฏิบัติทุกครั้ง
                                                                                              [10]
             โรงพยาบาลชุมชนของจังหวัดพิษณุโลกขณะท�า      จ�านวน 29 ข้อ และส่วนที่ 3 ข้อจ�ากัดในการท�างาน

             แบบสอบถาม และยินยอมเข้าร่วมการศึกษา โดย     ตามบทบาทของผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผน-
             สุ่มเลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการเลือกแบบเจาะจง   ไทย ลักษณะค�าตอบเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า
             (purposive sampling) ตามคุณสมบัติเกณฑ์การ   4 ระดับ (rating scale) โดย 1 ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง 2
   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105