Page 159 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 19 ฉบับที่ 3
P. 159

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 19  No. 3  Sep-Dec  2021  705




                          ผลก�รศึกษ�                    แรก 1 เรื่อง (ตารางที่ 1)
                                                             ส่วนบทความ จำานวน 1 เรื่องนั้น ได้แก่ บทความ
            1. ข้อมูลทั่วไปของก�รศึกษ�                  เรื่อง มณีเวช เพื่อชีวิตง่าย ๆ สบาย ๆ (Simple way

                                                                                   [2]
                 งานวิจัยที่ศึกษาเกี่ยวกับมณีเวช ที่ผ่านการคัด  to make easier by Maneeveda ) มีเนื้อหาเกี่ยว
            เลือกตามเกณฑ์ทั้งหมด 12 เรื่อง โดยเป็นงานวิจัย 11   กับวิชามณีเวชเป็นศาสตร์ในการจัดโครงสร้างกระดูก

            เรื่อง และบทความ 1 เรื่อง ซึ่งเป็นงานวิจัยทางคลินิก  ซึ่งค้นพบโดยท่านอาจารย์ประสิทธิ์ มณีจิระประการ
            แบบมีกลุ่มควบคุม 2 เรื่อง การวิจัยกึ่งทดลอง 7 เรื่อง   และได้สรุปการสอนของวิชามณีเวชเป็น 4 ส่วน ได้แก่
            งานวิจัยแบบ crossover design 1 เรื่อง และงานวิจัย   (1) เป็นวิชาที่สอน เรื่องสมดุลของโครงสร้างร่างกาย

            R&D 1 เรื่อง โดยแบ่งได้เป็น 2 กลุ่มคือ กลุ่มรักษา  (2) แนะนำาการใช้ชีวิตอย่างสมดุลเพื่อหลีกเลี่ยงและ
            อาการปวดกล้ามเนื้อ 7 เรื่อง และกลุ่มส่งเสริมความ  ป้องกันไม่ให้เกิดโรค (3) การบริหารเพื่อรักษาสมดุล
            ก้าวหน้าของการคลอด 4 เรื่อง ซึ่งงานวิจัยทั้งหมด  ของร่างกาย (4) การจัดกระดูกเพื่อการรักษา

            ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการและส่วนใหญ่
            ศึกษาในกลุ่มตัวอย่างมากกว่า 25 คน เป็นกลุ่มอาการ  2. ผลก�รวิเคร�ะห์ข้อมูล

            ปวด กล้ามเนื้อมากที่สุด และรองลงมาคือความเจ็บ     งานวิจัย 11 เรื่องสามารถใช้วิธีสรุปเชิงเนื้อหาซึ่ง
            ปวดขณะมดลูกหดตัว โดยมีวิธีการศึกษาที่พบมาก  สามารถสรุปประสิทธิผลวิธีการดูแลรักษาด้วยศาสตร์
            ที่สุด คืองานวิจัยกึ่งทดลอง 7 เรื่อง งานวิจัยทางคลินิก  มณีเวชได้ดังนี้

            แบบมีกลุ่มควบคุม 2 เรื่อง งานวิจัยแบบ crossover      1.  กลุ่มรักษาอาการปวดกล้ามเนื้อ พบ 7 เรื่อง
            design 1 เรื่องและงานวิจัย R&D 1 เรื่อง ซึ่งเป็นงาน  ซึ่งพบว่าผลการวิจัยทั้ง 7 เรื่องมีผลการรักษาที่ดีขึ้น

            วิจัยการบริหารท่ามณีเวช 5 เรื่อง งานวิจัยการนั่งท่า  (คิดเป็นร้อยละ 100) ซึ่งมีงานวิจัย 5 เรื่อง (คิดเป็น
            ผีเสื้อแบบมณีเวช 3 เรื่อง งานวิจัยการบริหารท่ามณี  ร้อยละ 71.42) ใช้การบริหารร่างกายแบบมณีเวช
            เวชร่วมกับโปรแกรมการยืดกล้ามเนื้อ 1 เรื่อง งานวิจัย  ประกอบด้วย ท่ายืน 5 ท่า และท่านอน 3 ท่า แต่ละท่า

            การบริหารท่ามณีเวชและการนั่งท่าผีเสื้อแบบมณีเวช 1   จะมีการบริหารวันละ 2 ครั้ง เช้า-เย็นโดยมีการสอน
            เรื่อง และการจัดกระดูกแบบมณีเวช 1 เรื่อง นอกจากนี้  สาธิตย้อนกลับ และทำาต่อเนื่อง ใช้เวลา 4 สัปดาห์
            มีรูปแบบการศึกษาคือศึกษาประสิทธิผลของมณีเวช 2   และมี 1 เรื่อง (คิดเป็นร้อยละ 14.29) ใช้โปรแกรมการ

            เรื่อง ผลการทำากายบริหารแบบมณีเวช 2 เรื่อง การนั่ง  ยืดกล้ามเนื้อ จำานวน 12 ท่า ท่าละ 4 ครั้ง และบริหาร
            ท่าผีเสื้อต่อการเปิดปากมดลูกในขณะรอคลอด 2 เรื่อง   มณีเวช จำานวน 5 ท่า ท่าละ 5 ครั้ง โดย ทำา 2 ครั้ง
            ผลของการยืดกล้ามเนื้อและการทำามณีเวช 1 เรื่อง ผล  ต่อสัปดาห์ เป็นเวลา 3 สัปดาห์ นอกจากนี้มี 1 เรื่อง

            ของการปรับสมดุลร่างกายด้วยมณีเวช 1 เรื่อง การ   (คิดเป็นร้อยละ 14.29) ใช้การจัดกระดูกมณีเวช
            บูรณาการการดูแลและส่งเสริมสุขภาพหญิงเจ็บครรภ์  ร่วมด้วย โดยงานวิจัยใช้วิธีการศึกษาเป็นงานวิจัย

            คลอดและหลังคลอด 1  เรื่อง ผลของการใช้การจัด  กึ่งทดลอง 6 เรื่อง (คิดเป็นร้อยละ 85.71) และเป็น
            กระดูกโดยวิธีมณีเวช 1 เรื่อง งานวิจัยการพัฒนาการ  งานวิจัยเชิงทดลอง RCT 1 เรื่อง (คิดเป็นร้อยละ
            ดูแลแบบผสมผสานด้วยศาสตร์มณีเวชในหญิงครรภ์   14.29) ซึ่งสามารถสรุปผลการศึกษาดังนี้ คือ เรื่อง
   154   155   156   157   158   159   160   161   162   163   164