Page 163 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 19 ฉบับที่ 3
P. 163
J Thai Trad Alt Med Vol. 19 No. 3 Sep-Dec 2021 709
design 1 เรื่อง (คิดเป็นร้อยละ 25) งานวิจัยทั้ง 4 ที่ได้รับการดูแลแบบปกติร่วมกับมณีเวชสามารถลด
เรื่อง ใช้วิธีการนั่งท่าผีเสื้อ (คิดเป็นร้อยละ 100) โดย เวลาในระยะคลอดได้มากกว่ากลุ่มตัวอย่างที่ได้รับ
มีการใช้รูปภาพแสดงวิธีการนั่งท่ามณีเวชประกอบการ การดูแล ผลการศึกษานำาสู่การปรับปรุงการปฏิบัติ
สอนนั่ง และให้นั่งท่าผีเสื้อก่อนหรือหลังการนอนรอ โดยสร้างเป็นแนวปฏิบัติการดูแลแบบผสมผสาน
คลอดแบบปกติแต่ละท่านาน 20 นาที นอนรอพักก่อน ด้วยศาสตร์มณีเวชในหญิงตั้งครรภ์ครรภ์แรกเน้นให้
ทำาท่าใหม่ 20 นาทีซึ่งสามารถสรุปผลการศึกษาดังนี้ ผู้คลอด พยาบาล แพทย์และญาติผู้คลอดมีส่วนร่วม
คือเรื่องที่ 1 การบูรณาการการดูแลและส่งเสริมสุข และมีการประเมินผลด้วยการศึกษาแบบกึ่งทดลอง
ภาพหญิงเจ็บครรภ์คลอดและหลังคลอดด้วยศาสตร์ พบว่า กลุ่มทดลองมีคะแนนความเจ็บปวดลดลงและ
[14]
การแพทย์แผนไทยโรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี ได้ มีระยะเวลาคลอดลดลงอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ เมื่อ
รับการปรับสมดุลโครงสร้างร่างกายแบบมณีเวชและ เปรียบเทียบระหว่างกลุ่มควบคุมกับกลุ่มทดลอง พบ
การดูแลด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย ประกอบ ความพึงพอใจมีค่าคะแนนที่ใกล้เคียงกันคือ ร้อยละ
ด้วย การนวด ประคบสมุนไพร การอบสมุนไพรและ 86 และร้อยละ 88 ตามลำาดับงานวิจัยเรื่องที่ 3 การ
้
การอาบนำาสมุนไพร ควบคู่กับการดูแลรักษาตามปกติ นั่งท่าผีเสื้อต่อการเปิดปากมดลูกในขณะรอคลอดใช้
ผลการศึกษา พบว่า ค่าเฉลี่ยคะแนนความเจ็บปวด รูปภาพแสดงวิธีการนั่งท่ามณีเวชประกอบการสอน
[7]
ขณะมดลูกหดรัดตัวของหญิงเจ็บครรภ์คลอด หลัง นั่ง ผลการศึกษาพบว่า ค่าเฉลี่ยเวลาเปิดของปาก
เข้าโครงการของกลุ่มทดลอง น้อยกว่ากลุ่มควบคุม มดลูกในกลุ่มนั่งท่าผีเสื้อแบบมณีเวช และกลุ่มควบคุม
ค่าเฉลี่ยอาการและอาการแสดงความเหนื่อยล้าของ เท่ากับ 19.6 และ 29.4 นาทีต่อเซนติเมตร ตามลำาดับ
หญิงเจ็บครรภ์คลอดของกลุ่มทดลองภายหลังเข้า และงานวิจัยเรื่องที่ 4 การนั่งรอคลอดท่าผีเสื้อแบบ
[8]
ร่วมโครงการน้อยกว่ากลุ่มควบคุม ค่าเฉลี่ยความ มณีเวชต่อการเจ็บครรภ์ในระยะปากมดลูกเปิดเร็ว
เหนื่อยล้าของหญิงหลังคลอดวันที่ 1 และวันที่ 2 ของ ผลการศึกษาพบว่าการนั่งท่าผีเสื้อมีระดับคะแนนปวด
กลุ่มทดลองภายหลังเข้าร่วมโครงการน้อยกว่ากลุ่ม การเจ็บครรภ์คลอดทั้งอาการปวดท้องและปวดหลัง
ควบคุมและมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำาคัญ ลดลงอย่างมีนัยสำาคัญ ค่าเฉลี่ยการปวดหลังลดลง
ทางสถิติ งานวิจัยเรื่องที่ 2 การพัฒนาการดูแลแบบ ร้อยละ 33 ค่าเฉลี่ยอาการปวดท้องลดลง ร้อยละ 23
ผสมผสานด้วยศาสตร์มณีเวชในหญิงครรภ์แรก ไม่พบความผิดปกติการเต้นของหัวใจทารกและไม่พบ
โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี ประเมินผลศึกษาผลลัพธ์เกี่ยว การหดรัดตัวที่มากผิดปกติของมดลูก
กับความเจ็บปวด ระยะเวลาการคลอด และความพึง สามารถสรุปการศึกษาประสิทธิผลการใช้ศาสตร์
พอใจหญิงเจ็บครรภ์คลอดครรภ์แรก เครื่องมือในการ มณีเวชในการดูแลรักษาสุขภาพที่ได้ผลลัพธ์ที่ดีมี
ศึกษาประกอบด้วย 1) คำาถามใช้สัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ ทั้งหมด 11 เรื่อง ซึ่งการดูแลรักษาแบบมณีเวชผลลัพธ์
มณีเวช จำานวน 5 ข้อ 2) คู่มือการปฏิบัติ มณีเวช 8 ท่า ที่ดีสรุปได้ดังนี้
3) แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล 4) คะแนนความเจ็บปวด 1. วิธีการบริหารร่างกายแบบมณีเวช ท่ายืน 5
เป็นตัวเลข และ 5) แนวปฏิบัติการใช้ศาสตร์มณีเวช ท่า และท่านอน 3 ท่า ซึ่งมีงานวิจัย 5 เรื่อง ใช้การบริหาร
ในการดูแลหญิงเจ็บครรภ์คลอดพบว่ากลุ่มตัวอย่าง ร่างกายแบบมณีเวช โดยแต่ละท่าจะมีการบริหาร