Page 162 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 19 ฉบับที่ 3
P. 162

708 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก         ปีที่ 19  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2564




           ที่ 1 ประสิทธิผลของการออกกำาลังกายแบบมณีเวช  ± 0.36 และ 3.80 ± 0.29, p < 0.05) และการประเมิน
           ต่อการจัดการอาการปวดหลังในคลินิกมณีเวช โรง  อาการปวดหลังส่วนล่างโดยใช้ Roland–Morris Dis-

                                    [4]
           พยาบาลโพธาราม จังหวัดราชบุรี  ผลการศึกษา พบ  ability ก่อนและหลังการรักษาลดลงอย่างมีนัยสำาคัญ
           ว่ามีคะแนนเฉลี่ยความเจ็บปวดก่อนและหลังได้รับ  (8.71 ± 0.80 และ 5.60 ± 0.75, p < 0.05) สำาหรับ
           การสอนสาธิตการออกกำาลังกายแบบมณีเวช กลุ่ม   งานวิจัยเรื่องที่ 7 ประสิทธิผลของการบริหารร่างกาย

           ตัวอย่างมีคะแนนความเจ็บปวดแตกต่าง อย่างมีนัย  แบบมณีเวชเพื่อลดอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อจาก
           สำาคัญทางสถิติ เรื่องที่ 2 ผลของการยืดกล้ามเนื้อและ  การทำางานในกลุ่มพนักงานออฟฟิศ  ซึ่งเป็นงานวิจัย
                                                                                 [9]
           การทำามณีเวชต่อการลดปวดในพนักงานการเงินและ  เชิงทดลอง RCT ผลการศึกษาพบว่าบริเวณที่มีอาการ

                                       [3]
           พนักงานขับรถโรงพยาบาลศรีธัญญา ผลการศึกษา    ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อมากที่สุดก่อนการบริหารร่างกาย
           พบว่าผู้เข้าร่วมโปรแกรมมีระดับอาการปวดลดลง  คือ คอ ไหล่ หลัง ส่วนบน หลังส่วนล่าง และข้อมือ/มือ
           อย่างมีนัยสำาคัญ เรื่องที่ 3 ผลของการใช้การจัดกระดูก  (ร้อยละ 80, 80, 80, 80 และ 68 ตามลำาดับ) ตำาแหน่ง

           โดยวิธีมณีเวชร่วมรักษาภาวะการกดทับเส้นประสาท  ของร่างกายที่มีอาการปวดเมื่อยจนต้องหยุดงานใน
           บริเวณข้อมือโดยวิธีอนุรักษ์  ผลการศึกษา พบว่าเมื่อ  ช่วง 12 เดือนที่ผ่านมามากที่สุดคือ หลังส่วนบน คอ
                                [6]
           ติดตามผลการรักษาสัปดาห์ที่ 6 กลุ่มที่รักษาด้วยวิธี  และไหล่ตามลำาดับ หลังบริหารร่างกายแบบมณีเวช
           อนุรักษ์ตามปกติหายจากภาวะดังกล่าว จำานวน 3 ราย   เป็นเวลา 4 สัปดาห์ ตำาแหน่งที่ระดับอาการปวดเมื่อย
           จาก 66 ราย ค่าคะแนน BCTSQ scale เฉลี่ยลดลง  ลดลงอย่างมี นัยสำาคัญทางสถิติ คือไหล่ (ก่อน 3.52

           จาก 52.8 ± 5.2 เป็น 44.2 ±  3.1 เมื่อเทียบกับกลุ่มที่  ± 2.96, หลัง 2.00 ± 2.16) ข้อมือ/มือ (ก่อน 2.08 ±
           เพิ่มการจัดกระดูกมณีเวชร่วมด้วยค่าเริ่มต้น BCTSQ   2.04, หลัง 0.80 ± 1.53) หลังส่วนบน (ก่อน 4.00 ±

           เฉลี่ย 53.3 ±  4.7 ลดเหลือ 37.2 ± 2.8 และผู้ป่วยหาย  2.94, หลัง 1.20 ± 1.73) หลังส่วนล่าง (ก่อน 3.76 ±
           จากภาวะ ดังกล่าว 8 รายจาก 67 ราย เรื่องที่ 4 ผลของ  3.13, หลัง 1.76 ± 2.03)  และสะโพก (ก่อน 1.68 ±
           การปรับสมดุลร่างกายด้วยมณีเวชต่อการปวดเมื่อย   2.56, หลัง 0.56 ± 1.36)

                            [10]
           กล้ามเนื้อในผู้สูงอายุ  พบว่าระดับการเจ็บปวด      2. กลุ่มส่งเสริมความก้าวหน้าของการคลอด 4
           กล้ามเนื้อลดลง (ก่อน Mean 5.38 ± 1.73, หลัง Mean   เรื่อง เป็นงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการใช้ศาสตร์มณีเวช
           3.00 ± 1.45) เรื่องที่ 5 ผลการทำากายบริหารแบบมณีเวช  เพื่อลดระยะเวลารอคลอด และการลดอาการปวด

           ต่อการทรงตัว ความยืดหยุ่น และความแข็งแรงของ   ขณะรอคลอด ซึ่งใช้วิธีการศึกษาที่แตกต่างกัน
                  [11]
           ผู้สูงอายุ  พบว่าการทรงตัว ความยืดหยุ่น และความ  ผลการวิจัยทั้ง 4 เรื่องมีผลการรักษาที่ดีขึ้น (คิดเป็น
           แข็งแรงของกล้ามเนื้อกำามือดีขึ้นกว่าก่อนฝึกอย่างมี  ร้อยละ 100) คืออาการปวดขณะรอคลอดลดลงทั้ง 4

           นัยสำาคัญทางสถิติ แต่ไม่พบความแตกต่างของความ  เรื่อง และช่วยให้ระยะเวลาเปิดของปากมดลูกเร็วขึ้น
           แข็งแรงของกล้ามเนื้อเหยียดเข่า เรื่องที่ 6 ผลของการ  โดยงานวิจัยใช้วิธีการศึกษาเป็นงานวิจัยกึ่งทดลอง 1

           บริหารร่างกายด้วยศาสตร์มณีเวชเพื่อลดอาการปวด  เรื่อง (คิดเป็นร้อยละ 25) งานวิจัยเชิงทดลอง RCT 1
           หลังส่วนล่าง พบว่าคะแนนความปวดลดลงอย่าง     เรื่อง (คิดเป็นร้อยละ 25) งานวิจัย R&D 1 เรื่อง (คิด
                     [12]
           มีนัยสำาคัญเมื่อเทียบกับก่อนการรักษา (ค่าเฉลี่ย 6.37    เป็นร้อยละ 25) และงานวิจัยเชิงทดลอง crossover
   157   158   159   160   161   162   163   164   165   166   167