Page 158 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 19 ฉบับที่ 3
P. 158
704 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2564
ของร่างกาย ทั้งนี้ศาสตร์มณีเวชยังเป็นศาสตร์ใหม่ที่ 2. กำาหนดแหล่งสืบค้นข้อมูล ดังนี้ ผ่านทาง 4
บุคลากรทางการแพทย์เริ่มมีการนำามาใช้ในการดูแล ฐานข้อมูล ได้แก่ PubMed, Science direct, Thai
และส่งเสริมสุขภาพมากขึ้นทั้งในระดับโรงพยาบาล Journal online, Journal of Health Science Re-
และระดับเขตสุขภาพ search โดยรวบรวมการศึกษาที่ตีพิมพ์และนำาเสนอ
จากการศึกษาค้นคว้า พบว่ามีการนำาศาสตร์ ในเวทีวิชาการ (grey literature)
มณีเวชไปใช้ในทุกช่วงวัย ทั้งเด็ก ผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ 3. สืบค้นงานวิจัยโดยใช้คำาสืบค้นตามที่กำาหนด
และใช้หลากหลายหน่วยงานในโรงพยาบาล ตลอดจน ด้วยวิธีการต่าง ๆ ดังนี้
เริ่มมีการศึกษาพัฒนาต่อยอดงานประจำาสู่งานวิจัย 3.1 การสืบค้นด้วยมือ (hand searching)
มากขึ้น โดยมีผู้ศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการใช้ศาสตร์มณี โดยสำารวจจากวารสารต่าง ๆ หนังสือดัชนีวารสาร
เวชในการรักษาอาการเจ็บป่วยที่หลากหลาย และมี เกี่ยวกับ ระบบสุขภาพ รายงานเอกสารอ้างอิงและ
การใช้ในการส่งเสริมสุขภาพด้วย ดังนั้นผู้วิจัยจึงสนใจ บรรณานุกรมของงานวิจัย ที่สืบค้นได้และการสืบค้น
ที่จะทำาการทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ เพื่อ วิทยานิพนธ์ในห้องสมุดโดยดูจากชื่อเรื่องของงานวิจัย
สรุปองค์ความรู้จากงานวิจัยที่ศึกษาเกี่ยวกับศาสตร์ 3.2 การสืบค้นด้วยคอมพิวเตอร์ (com-
มณีเวช และรวบรวมองค์ความรู้ที่ได้มาใช้เป็นหลัก puterized searching) จากฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
ฐานอ้างอิงทางวิชาการประกอบการดูแลรักษาหรือ ทางวิทยาศาสตร์สุขภาพและสืบค้นออนไลน์ทาง
ป้องกันอาการเจ็บป่วย ซึ่งสามารถนำาไปสู่การปรับปรุง อินเทอร์เน็ตของสถาบันหรือองค์กรที่ให้บริการเผย
พัฒนารูปแบบการให้การรักษาหรือการบริการเพื่อให้ แพร่ข้อมูลทางการแพทย์การพยาบาลที่เกี่ยวข้องกับ
เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้ป่วยต่อไป การดูแลรักษาด้วยศาสตร์มณีเวช
3.3 การสืบค้นงานวิจัยที่ไม่ได้รับการตี
ระเบียบวิธีศึกษ� พิมพ์เผยแพร่ (searching for unpublished ma-
terials) สืบค้นโดยติดต่อกับนักวิจัยโดยตรง ติดตาม
วิธีศึกษ� จากสถาบัน การศึกษาต่าง ๆ หรือติดตามกับองค์กรที่
การวิจัยครั้งนี้เป็นการทบทวนวรรณกรรม เกี่ยวข้อง
อย่างเป็นระบบ โดยดำาเนินการสืบค้นรายงานวิจัยที่ 3.4 การสืบค้นจากรายการเอกสารอ้างอิง
เกี่ยวข้องตามเกณฑ์ที่กำาหนด โดยมีขั้นตอนดังต่อไป ท้ายรายงานการวิจัย
นี้ การวิเคราะห์ข้อมูลแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ
1. กำาหนดคำาสำาคัญ (key words) ในการสืบค้น ลักษณะทั่วไปของรายงานวิจัย วิเคราะห์โดยใช้สถิติ
ทั้งเป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ดังนี้ พรรณนาและประสิทธิผลของการดูแลรักษาสุขภาพ
Search Terms: Maneevej, Maneeveda, ด้วยศาสตร์มณีเวชใช้วิธีการวิเคราะห์สรุปเชิงเนื้อหา
Maneeved, Maneevech, Maneevade, Ma- (narrative summary) เพื่อตอบคำาถามการทบทวน
neewade, Manevej, Maneveda, Maneved, วรรณกรรม
Manevech, Manevade, มณี, มณีเวช, มณีเวด