Page 98 - วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2564
P. 98
328 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2564
ดังกล่าวแสดงให้เห็นว่าตำารับยาศุขไสยาศน์ สามารถ ช่วงตื่นนอนให้เหมาะสม จากการตัดการทำางาน
ทำาให้กลุ่มตัวอย่างมีการนอนหลับที่ดีขึ้น ทั้งนี้อาจจะ ของแขนงประสาทส่วนเยื่อหุ้มสมองออกจากสิ่งเร้า
เป็นผลมาจากฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของสารสำาคัญของ ภายนอก ยับยั้งการกระตุ้นจากสิ่งเร้าภายนอกทำาให้
สมุนไพรในตำารับยาศุขไสยาศน์ที่มีฤทธิ์ต้านอาการ รู้สึกกระปรี้กระเปร่าเมื่อตื่นนอน [16]
[10]
[11]
[9]
วิตกกังวล ได้แก่ ดีปลี สะเดา และลูกจันทน์ ด้านความปลอดภัย พบว่ากลุ่มตัวอย่างร้อยละ
และช่วยให้นอนหลับ ได้แก่ สารทีเอชซี (delta- 38.34 เกิดอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ตำารับยา
9-tetrahydrocannabinol, THC) ที่มีฤทธิ์ช่วย ศุขไสยาศน์ โดยอาการไม่พึงประสงค์ที่พบมากที่สุด 3
ผ่อนคลายและระงับประสาทในกัญชา [12-13] และสาร อันดับแรก ได้แก่ อาการแสบร้อนกลางอก อาการเวียน
[14]
โชกาออล (shogaols) ในขิงแห้ง นอกจากนี้ ตาม ศีรษะ และอาการปากแห้ง คอแห้ง ทั้งนี้ อาการไม่พึง
หลักการทางการแพทย์แผนไทยเรื่องสรรพคุณเภสัช ประสงค์ดังกล่าวที่เกิดขึ้นน่าจะมีสาเหตุจากสมุนไพร
ตำารับยาศุขไสยาศน์ มีรสประธานของตำารับคือ สุขุม จำานวน 7 ชนิดที่มีจำานวน 47 ส่วนใน 78 ส่วนของตำารับ
ออกร้อน รสยาทั้งตำารับ รสเมาเบื่อ เจือร้อนออกหอม หรือคิดเป็นร้อยละ 60.26 ได้แก่ ดีปลี 11 ส่วน ขิงแห้ง
จึงสามารถเข้าระบบลมปลายประสาท กระตุ้นให้ระบบ 10 ส่วน พริกไทย 9 ส่วน ลูกจันทน์ 7 ส่วน เทียนดำา
ประสาททำางานดีขึ้น 5 ส่วน สมุลแว้ง 4 ส่วน และการบูร 1 ส่วน ซึ่งเป็น
ด้านคุณภาพชีวิต 5 มิติและภาวะสุขภาพ ผล สมุนไพรที่มีรสเผ็ดร้อนจึงอาจจะทำาให้เกิดอาการข้าง
การศึกษาพบว่าคะแนนเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างก่อน เคียงดังกล่าวต่อระบบทางเดินอาหารได้
รับประทานตำารับยาศุขไสยาศน์เท่ากับ 0.821 ± 0.19 นอกจากนี้ เมื่อวิเคราะห์วิธีการบริหารยาเปรียบ
และ 83.43 ± 14.07 คะแนนตามลำาดับ หลัง เทียบระหว่างการบริหารยาด้วยการละลายผงยาใน
้
รับประทานตำารับยาศุขไสยาศน์ ครบ 4 สัปดาห์ คะแนน นำาอุ่น เปรียบเทียบกับการบริหารยาด้วยการใช้ผง
้
คุณภาพชีวิต 5 มิติและภาวะสุขภาพเฉลี่ยมีค่าเท่ากับ ยาผสมนำาผึ้งปั้นเป็นลูกกลอน พบว่า กลุ่มตัวอย่าง
้
0.903 ± 0.11 และ 89.27 ± 11.45 คะแนน ซึ่งเพิ่มขึ้น ที่มีการบริหารยาด้วยการใช้ผงยาผสมนำาผึ้งปั้นเป็น
อย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ ทั้งนี้คะแนนเฉลี่ยที่เพิ่มขึ้น ลูกกลอนเกิดอาการแสบร้อนกลางอกน้อยกว่ากลุ่ม
้
ของกลุ่มตัวอย่างหลังได้รับประทานยาศุขไสยาศน์น่า ที่บริหารยาด้วยการละลายผงยาในนำาอุ่น ทั้งนี้ อาจ
้
จะเป็นเพราะกลุ่มตัวอย่างสามารถนอนหลับได้ดีขึ้นจึง เนื่องจากนำาผึ้งทำาหน้าที่เป็นสารยึดเกาะประสานผง
ทำาให้รู้สึกกระปรี้กระเปร่า สดชื่น รู้สึกได้ว่าตนเองพัก ยาให้เป็นลูกกลอน ประกอบกับมีรสหวาน จึงทำาให้
ผ่อนได้อย่างเต็มที่และพร้อมที่จะทำางานหรือดำาเนิน การรับประทานยาแบบลูกกลอนสามารถลดอาการ
ชีวิตต่อไป ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษาของซู้หงษ์ เผ็ดร้อนของผงยาที่ผ่านลงไปจากปากไปถึงกระเพาะ
ดีเสมอ (2554) ที่พบว่าการนอนหลับที่ไม่มีคุณภาพ อาหารได้ จึงทำาให้อาการแสบร้อนกลางอกและอาการ
ในผู้ที่เป็นมะเร็ง มีผลกระทบต่อทั้งด้านร่างกาย จิตใจ ปากแห้ง คอแห้งจากการบริหารยารูปแบบนี้ ทำาให้เกิด
[15]
และคุณภาพชีวิต และ Shneerson (2005) กล่าว อาการข้างเคียงน้อยกว่าการบริหารยาแบบละลายผง
้
ว่าการนอนหลับเป็นช่วงที่ร่างกายใช้กักเก็บพลังงาน ยาในนำาอุ่น นอกจากนี้ ผลเลือดของกลุ่มตัวอย่าง
้
การนอนหลับจะช่วยปรับพฤติกรรมของมนุษย์ใน จำานวน 13 รายที่มีการเจาะเลือดซำาหลังรับประทาน