Page 258 - วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2564
P. 258
วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine
Vol. 19 No. 2 May-August 2021
ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2564
488 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2564
นิพนธ์ต้นฉบับ
การทบทวนอย่างเป็นระบบ ขมิ้นชันเปรียบเทียบกับ Acarbose ในการ
ป้องกันการเกิดโรคเบาหวานในกลุ่มระดับน้ำาตาลอดอาหารสูง
ธนะวัฒน์ วงศ์ผัน *,†,# , คุณสิริ เสริมศิริโภคา , กฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์ , ดวงแก้ว ปัญญาภู ,
§
‡
*
จิตติศักดิ์ พูนศรีสวัสดิ์ , ปรัชญ์ชยนันท์ พูนเนียม , ภานุพงศ์ ภู่ตระกูล‡ , จินดาพร ภูริพัฒนาวงษ์ ¶
‡
§
§
* โรงพยาบาลบ้านหมอ ตำาบลบ้านหมอ อำาเภอบ้านหมอ จังหวัดสระบุรี 18130
† สำานักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ กระทรวงสาธารณสุข ตำาบลตลาดขวัญ อำาเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000
‡ ภาควิชาเวชศาสตร์ป้องกัน คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330
§ กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ตำาบลตลาดขวัญ อำาเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000
¶ ภาควิชาเภสัชเวท และเภสัชพฤกษศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ตำาบลคอหงส์ อำาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90110
# ผู้รับผิดชอบบทความ: thanawat@ihpp.thaigov.net
บทคัดย่อ
บทนำ�และวัตถุประสงค์ เบาหวาน เป็นโรคที่ทำาให้เกิดการสูญเสียมากทั้งในแง่การเสียชีวิต และพิการ ปัจจุบัน
มีวิธีการป้องกันเบาหวานได้ หลายวิธี เช่น การเปลี่ยนพฤติกรรม ใช้ยาแผนปัจจุบัน และสมุนไพร ได้แก่ สารสกัด
เคอร์คูมินจากขมิ้นชัน ซึ่งลดโอกาสการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ คล้ายคลึงกับยา acarbose การศึกษานี้มีจุดประสงค์
ในการหาหลักฐานการเปรียบเทียบผลอย่างเป็นระบบ ระเบียบวิธีศึกษ� เป็นการทบทวนอย่างเป็นระบบตามแนวทาง
ของ PRISMA โดยผ่านทางฐานข้อมูล 3 ฐานได้แก่ PubMed Scopus และ Web of sciences ผลก�รศึกษ� จาก
®
®
®
รายงานทั้งหมด 115 รายงาน ถูกคัดออกเหลือ 2 รายงาน พบว่าไม่มีการศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพโดยตรง แต่
สารสกัดเคอร์คูมินที่ได้จากขมิ้นชัน ลดการเกิดเบาหวานได้ร้อยละ 16.4 และส่งเสริมการลด BMI ร้อยละ 6.43 ใน
ขณะที่ acarbose ลดการเกิดเบาหวานเหลือร้อยละ 32 แต่มีถึงร้อยละ 25 ที่หยุดการรักษาก่อน อภิปร�ยผล เนื่องจาก
สารสกัดเคอร์คูมินในขมิ้นชัน และ acarbose มีประสิทธิผลในการลดอัตราการเกิดเบาหวาน แต่ยา acarbose มีผู้ที่หยุด
ใช้ยาก่อนสูง และยังไม่มีการศึกษาผลของสารสกัดเคอร์คูมินในหลอดเลือดมนุษย์ ทำาให้ไม่สามารถเปรียบเทียบได้ครบ
ถ้วน ข้อสรุป ทั้งสารสกัดเคอร์คูมินในขมิ้นชัน และยา acarbose มีประสิทธิผลในการลดอุบัติการณ์การเกิดเบาหวาน
แต่ยังไม่มีการเปรียบเทียบประสิทธิผลกันโดยตรง จึงควรมีการทดลองเปรียบเทียบต่อไป
คำ�สำ�คัญ: เบาหวาน, ป้องกันการเกิดเบาหวาน, ขมิ้นชัน, สารสกัดเคอร์คูมิน, acarbose
Received date 23/07/20; Revised date 04/02/21; Accepted date 16/08/21
488