Page 249 - วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2564
P. 249

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 19  No. 2  May-Aug  2021  479




              (auliflower) หรือต�มกิ่งแก่ (ramiflower) หลังเกิด  acid, oleic และ fatty acids อื่น ๆ ลักษณะสำ�คัญคือ
              ก�รผสมเกสร ผล (ฝัก) โกโก้จะเริ่มพัฒน�จนกระทั่ง  มี unsaturated triglyceride จึงมี polymorphism
              แก่ใช้เวล�ประม�ณ 5-6 เดือน ผลมีหล�ยขน�ด และ  หรือมีหล�ยรูปผลึก เมื่อหลอมด้วยอุณหภูมิต่�งกัน

              หล�ยสีต�มชนิดพันธุ์ ขน�ดคว�มย�วของผล พบ     ปล่อยให้เย็นลงจะได้ผลึกแตกต่�งกันคือ β form มี
              ตั้งแต่ 30-40 เซนติเมตร ผลอ่อนมีสีเขียวเมื่อสุกจะมี  จุดหลอมตัว (m.p.) 30-35˚C, solidification point

              สีเหลือง ขณะที่ผลอ่อนมีสีแดงเข้ม เมื่อสุกจะมีสีส้ม   เท่�กับ 28˚C แต่ถ้�หลอมเกิน 36˚C หรือจนใส β
              จำ�นวนเมล็ดโกโก้ใน 1 ผล (ฝัก) พบ 20-25 เมล็ด และ  form จะถูกทำ�ล�ยเกิดผลึกชนิด g form หรือ Sub-a
              เนื้อในเมล็ด (kernel) มีสีข�วถึงม่วงเข้มเมื่อแก่จัด    m.p. 15˚C ซึ่งคงตัวน้อยที่สุด และถ้�ทิ้งไว้จะเปลี่ยน
                                                    [2]
              ขณะที่ผลสุกเนื้อเยื่อบริเวณภ�ยนอกของ integu-  เป็น a form m.p. 24˚C, β’ form m.p. 25-31˚C
              ment จะผลิตชั้นของ prismatic cell ประกอบด้วย  สำ�หรับ β เป็นรูปแบบที่มีคว�มคงตัวม�กที่สุด (m.p.
               ้
              นำ�ต�ล และเมือก เมล็ดโกโก้แต่ละเมล็ดจะถูกห่อหุ้ม  30-35˚C, solidification point เท่�กับ 28˚C) ด้วย
              ด้วยเยื่อและเมือก เมือกหุ้มเมล็ดเหล่�นี้จะทำ�ให้เกิด  ลักษณะที่มีคว�มนุ่มนวล ไม่ระค�ยเคือง จึงนิยมใช้ใน
              กลิ่นหอมของช็อกโกแลต หลังจ�กหมักเมล็ดโกโก้  ก�รเตรียมเครื่องสำ�อ�งและย�เหน็บทว�รเพร�ะไขมัน

              สมบูรณ์  โกโก้ถูกนำ�เข้�ม�ปลูกในประเทศไทยครั้ง  ที่ได้จ�กผลโกโก้ ให้คุณสมบัติเป็นส�รทำ�ให้นุ่มและ
                    [3]
              แรกในปี พ.ศ. 2446 โดยหลวงร�ชเคนิกร ต่อม�กรม  ชุ่มชื้น (emollient) ป้องกันก�รระค�ยเคือง ปัจจุบันใน
              ส่งเสริมก�รเกษตรได้ส่งเสริมให้เกษตรกรท�งภ�คใต้  เมืองไทยเริ่มมีก�รปลูกโกโก้ม�กขึ้นเพื่อส่งผลผลิตไป

              ปลูกเป็นพืชแซมสวนมะพร้�ว สวนป�ล์ม และสวน    โรงง�นผลิตโกโก้ ช็อกโกแลต และสินค้�แปรรูปต่�ง ๆ
              ย�งพ�ร� ปัจจุบันเกษตรกรภ�คตะวันออกปลูกโกโก้  จึงควรส่งเสริมให้มีก�รนำ�ผลโกโก้ม�ใช้ประโยชน์ท�ง
              เป็นพืชแซมสวนเง�ะ สวนทุเรียน และสวนลองกอง   ย�และเครื่องสำ�อ�ง เพื่อสร้�งมูลค่�ของผลโกโก้ม�ก

              เพื่อทดแทนก�รนำ�เข้�โกโก้ที่เพิ่มสูงขึ้นทุกปี สำ�หรับ  ยิ่งขึ้น
              ใช้เป็นวัตถุดิบในอุตส�หกรรมเครื่องดื่ม นม เบเกอรี่      ก�รศึกษ�นี้มีแนวคิดที่จะพัฒน�กลุ่มไขมันจ�ก

              ย� เครื่องสำ�อ�ง และอุตส�หกรรมย�สูบ [4]     เมล็ดโกโก้ เพื่อใช้เป็นย�พื้นย�เหน็บทว�ร สำ�หรับ
                   เนยโกโก้ (cocoa butter หรือ theobroma   ใช้ในก�รเรียนก�รสอนท�งเภสัชกรรม โดยเนยโกโก้
              oil)  มีลักษณะเป็นไขมันสีข�วอมเหลืองที่ได้จ�ก  เป็นไขมันต้นแบบที่มีรูปพหุสัณฐ�น อีกทั้งในปัจจุบัน
                 [5]
              ก�รสกัด หรือคั่วเมล็ดโกโก้ โดยหลังจ�กกำ�จัดส่วน  มีก�รนำ�ไขมันจ�กพืชม�ใช้ในเครื่องสำ�อ�งบำ�รุงผิว
              ของเปลือกเมล็ด (shell) ออก จะพบส่วนของใบ    ม�กขึ้น ประกอบกับมีก�รส่งเสริมก�รปลูกโกโก้ทั้ง

              เลี้ยงด้�นใน (nib) ที่มีปริม�ณเนยโกโก้สูงถึง 55%   จ�กภ�ครัฐ และภ�คเอกชนจำ�นวนม�ก ส�ม�รถปลูก
              คุณลักษณะ: สีข�วอมเหลือง กลิ่นช็อกโกแลต เนียน   ได้ทุกภ�คของประเทศไทย จ�กก�รส่งเสริมดังกล่�ว
              นุ่มนวล ไม่ระค�ยเคือง จุดหลอมเหลว 30-36˚C จึง  เมื่อโรงง�นแปรรูปนำ�เมล็ดโกโก้แห้งเข้�สู่กระบวนก�ร

              เป็นของเหลวที่อุณหภูมิห้อง ห�กอุณหภูมิห้องสูง ส่วน  ผลิตช็อกโกแลต ในกระบวนก�รผลิตจะมีเนยโกโก้
              ประกอบเนยโกโก้เป็น unsaturated triglycerides   เหลืออยู่จำ�นวนม�ก ก�รศึกษ�นี้จะประเมินคุณสมบัติ
              ได้แก่ glyceryl esters ของ stearic acid, palmitic   ท�งเคมี ก�ยภ�พและฤทธิ์ต้�นอนุมูลอิสระของไขมัน
   244   245   246   247   248   249   250   251   252   253   254