Page 137 - วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2564
P. 137

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 19  No. 2  May-Aug  2021  367




                                                                    [4]
            รับรู้ความสามารถในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ พบ  ยาหลักแห่งชาติ  ที่ระบุถึงอาการไม่พึงประสงค์ของ
            ว่าการสัมผัสทารกแบบแนบเนื้อ การช่วยมารดาให้  ตำารับยานี้คือ แสบร้อนยอดอก เนื่องจากในตำารับนี้มี

            ทารกดูดนมถูกวิธีอย่างต่อเนื่องทุก 2-3 ชั่วโมง การ  ส่วนประกอบของพริกไทยที่เป็นยารสร้อนในปริมาณ
                ้
            ดื่มนำาและการรับประทานอาหารให้เพียงพอ การ   สูง อาจทำาให้เกิดอาการแสบร้อนคอและยอดอก โดย
            ดูแลความสุขสบายด้านร่างกายและจิตใจ ทำาให้ระยะ  ในพริกไทยมีสาร piperine จากรายงานวิจัยพบว่าสาร
                             ้
            เวลาการเริ่มไหลของนำานมและระยะเวลาการมาของ  นี้สามารถเพิ่มระดับยาในเลือด มีฤทธิ์ต่อ bioavai-
              ้
            นำานมเร็วขึ้น                               lability ของยาและสารอาหาร
                 นอกจากนี้สุขภาพด้านการขับถ่ายของมารดา       เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลธาตุสมุฏฐานพบว่ามารดา

            หลังคลอดกลับมาเป็นปกติดีขึ้นและมีอาการปวดแผล  หลังคลอดที่มีอาการไม่พึงประสงค์รายที่ 1 มีอาการ
            ฝีเย็บลดลง อย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ (p < 0.05) เมื่อ  ใจสั่นหวิว ใจเต้นแรง รู้สึกวูบวาบ นั้นมีธาตุเจ้าเรือน
                                                                                   ้
            ศึกษาเพิ่มเติมจากข้อมูลของตัวยาในตำารับยาปลูก  หลักและธาตุเจ้าเรือนรองเป็นธาตุนำา พิกัดศอเสมหะ
            ไฟธาตุ ซึ่งประกอบด้วยสมุนไพรที่มีรสร้อน เช่น พริก  และได้คลอดในช่วงคิมหันตฤดู (ฤดูร้อน) อุตุสมุฏฐาน
                                                 ้
            ไทยล่อน ดีปลี ช้าพลู ผักแพว สะค้าน และว่านนำา มี  เตโช พิกัดสันตัปปัคคี (ไฟอบอุ่นกาย)  ร่างกายจึง
                                                                                     [13]
            สรรพคุณในการขับลม ช่วยขับปัสสาวะ ขับระดูสตรี   มีความร้อนอันเกิดจากธาตุไฟ หากรับประทานยา
            บรรเทาอาการหดเกร็งของกล้ามเนื้อเรียบทำาให้กล้าม  หรืออาหารที่มีรสร้อนจัดเช่นเดียวกับตำารับยาปลูก
            เนื้อเรียบและกล้ามเนื้อมดลูกคลายตัว จึงเป็นข้อบ่ง  ไฟธาตุจะไปเพิ่มธาตุไฟในร่างกาย กระตุ้นให้เกิดการ
                                                                     ้
            ชี้ในการใช้ตำารับยาปลูกไฟธาตุแทนการอยู่ไฟหลัง   เผาผลาญ ธาตุนำาที่เป็นทั้งธาตุเจ้าเรือนหลักและธาตุ
                                 ้
                                                                                           ้
                 [4]
            คลอด  เพื่อช่วยกระตุ้นนำานมและกระจายเลือดลม  เจ้าเรือนรองลดลง หากมารดาหลังคลอดดื่มนำาน้อย
                                                                             ้
            ในมารดาหลังคลอด ส่วนด้านอื่น ๆ ได้แก่ ความรู้สึก  จะทำาให้ร่างกายกระหายนำา อ่อนเพลีย รู้สึกใจสั่น
                                   ้
            ปวดมดลูกบริเวณหน้าท้อง นำาคาวปลาไหลดี อาการ  หวิว ใจเต้นแรง รู้สึกร้อนวูบวาบ เนื่องจากมีธาตุไฟ
            วิงเวียนศีรษะ หน้ามืด มีเหงื่อออกมากผิดปกติ ความ  เกินกำาลัง
            อยากอาหาร อาการปวดกล้ามเนื้อและอาการปวด          รายที่ 2 มีอาการแสบร้อนยอดอก ร้อนปาก
                                                                                        ้
            เกร็งท้องน้อยเวลาปัสสาวะนั้น ไม่พบความแตกต่าง  ร้อนคอ นั้นมีธาตุเจ้าเรือนหลักเป็นธาตุนำา พิกัดศอ
            กันทางสถิติ                                 เสมหะ ธาตุเจ้าเรือนรองเป็นธาตุลม พิกัดสุมนาวาตะ

                 ข้อมูลอาการไม่พึงประสงค์หรืออาการผิดปกติ  และได้คลอดในช่วงวสันตฤดู (ฤดูฝน) อุตุสมุฏฐาน
            หลังการใช้ตำารับยาปลูกไฟธาตุในมารดาหลังคลอดที่  วาโย พิกัดกุจฉิสยาวาตา (ลมในท้อง เป็นลมที่พัดอยู่
            ให้นมบุตรจำานวน 58 ราย พบว่ามีอาการไม่พึงประสงค์   ในท้องนอกลำาไส้)  อากาศหนาวเย็นที่มากระทบกับ
                                                                     [13]
            จำานวน 2 ราย ซึ่งมีอาการแสบร้อนยอดอก ร้อนปาก   ความร้อนภายในร่างกายจะทำาให้ลมในท้องทำางานผิด
            ร้อนคอ 1 ราย และอีก 1 ราย มีอาการใจสั่นหวิว ใจเต้น  ปกติ มีอาการท้องลั่น รู้สึกสวิงสวาย เมื่อรับประทาน

            แรง รู้สึกวูบวาบ หลังจากใช้ยา 1-2 ชั่วโมง ซึ่งอาการ  ยาหรืออาหารที่มีรสร้อนจะทำาให้ธาตุไฟในร่างกายมี
            ไม่ร้ายแรง และอาการหายไปเมื่อใช้ยาต่อเนื่องทั้ง 2   มากขึ้น ธาตุลมจึงเคลื่อนไหวมาก ส่งผลให้ธาตุนำา ้
            ราย ดังข้อมูลในคู่มือการใช้ยาจากสมุนไพรในบัญชี  ลดลงทำาให้เสมหะแห้ง หากมีลมสุมนาวาตะ (ลมที่
   132   133   134   135   136   137   138   139   140   141   142