Page 252 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 19 ฉบับที่ 1
P. 252

วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก  Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine
                     ปีที่ 19  ฉบับที่ 1  มกราคม-เมษายน 2564       Vol. 19  No. 1  January-April  2021







                              คำ�แนะนำ�สำ�หรับผู้นิพนธ์


                                       ฉบับปรับปรุง 2562






           การเตรียมและส่งต้นฉบับ                      อังกฤษ เป็นข้อความย่อหน้าเดียว คำาสำาคัญ บทนำา  วิธีการสืบค้น
                                                       ข้อมูล เนื้อหาที่ทบทวน บทวิจารณ์ และเอกสารอ้างอิง ความยาว
           1. ประเภทหัวข้อและเนื้อหาในวารสาร           ของเรื่องรวมแล้วไม่ควรเกิน 12 หน้าพิมพ์ กระดาษ เอ 4

                1)  บรรณาธิการแถลง (Editorûs Note) เป็นการ     4)  นิพนธ์ต้นฉบับ (Original Article) เป็นรายงาน

           สื่อสารระหว่างบรรณาธิการกับผู้อ่านให้ทราบเกี่ยวกับข่าวสาร   ผลการศึกษา ค้นคว้า วิจัย ประกอบด้วยลำาดับเนื้อเรื่องดังต่อไป
           บทความ รายงานการศึกษา และอื่น ๆ ที่กองบรรณาธิการได้  นี้ ชื่อเรื่อง ชื่อผู้นิพนธ์ บทคัดย่อ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
           นำาเสนอในวารสาร หรือเป็นการแสดงความคิดเห็น ความในใจ   คำาสำาคัญ บทนำา ระเบียบวิธีศึกษา ผลการศึกษา อภิปรายผล ข้อ

           ความรู้สึกต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับสถานการณ์วิชาการ บทความ   สรุป กิตติกรรมประกาศ และเอกสารอ้างอิง ความยาวของเรื่อง
           ความรู้ หรืออื่น ๆ ที่บรรณาธิการต้องการสื่อให้ผู้อ่านได้รับรู้หรือ  รวมแล้วไม่ควรเกิน 15 หน้าพิมพ์กระดาษ เอ 4
           เข้าใจ                                          5)  เวทีทรรศนะ (Viewpoints & Perspec-tives)
                2)  จดหมายถึงบรรณาธิการ (Letter to Editor)    เป็นเวทีแห่งการแลกเปลี่ยนและเรียนรู้ข้อมูลเชิงวิชาการ
           หรือจดหมายโต้ตอบ (Correspondence) เป็นเวทีใช้ติดต่อ  แนวคิดและแนวทางใหม่ โดยเสนอความคิดเห็น หรือวิพากษ์

           ตอบโต้ระหว่างนักวิชาการ ผู้อ่าน กับบรรณาธิการ หรือเจ้าของ  เชิงวิชาการของเรื่องที่ทำาการศึกษาวิจัยในประเด็นที่ยังไม่มีข้อ
           บทความที่ตีพิมพ์ในวารสาร ในกรณีผู้อ่านมีข้อคิดเห็นแตกต่าง   ยุติที่ชัดเจน หรือมีความคิดเห็นในแง่มุมต่าง ๆ ที่แตกต่างออก
           ต้องการชี้ให้เห็นความไม่สมบูรณ์ หรือข้อผิดพลาดของรายงาน   ไปจากผลการศึกษาวิจัยนั้น ๆ หรือไม่ตรงกับแนวคิดที่มีอยู่เดิม

           บางครั้งบรรณาธิการอาจวิพากษ์สนับสนุนหรือโต้แย้ง นอกจาก     6)  ปกิณกะ (Miscellaneous)  เป็นบทความขนาด
           นี้ ยังเป็นเวทีสำาหรับการรายงานเบื้องต้น (Preliminary Report)   ย่อมที่เนื้อหาอาจเข้าข่าย หรือไม่เข้าข่ายบทความต่าง ๆ ที่กล่าว
           หรือรายงานสังเขป (Short Communication)  ซึ่งเป็นการนำา  มาข้างต้น เช่น บทความพิเศษ (Special Article) บทความ
           เสนอรายงานผลการศึกษาวิจัยที่ยังไม่เสร็จสมบูรณ์ ต้องศึกษา  ประเภทกึ่งบทบรรณนิทัศน์ บทความฟื้นวิชา หรือเป็นบทความ
           ต่อเพื่อเก็บข้อมูลเพิ่มเติม  และรายงานผู้ป่วย (Case  Report)/  แสดงข้อคิดเห็นเกี่ยวโยงกับเหตุการณ์ปัจจุบันที่อยู่ในความ

           บันทึกเวชกรรม (Clinical Note)  ซึ่งเป็นการรายงานผู้ป่วยที่  สนใจของประชาชนเป็นพิเศษ ข่าว หรือการจัดการความรู้ที่
           ไม่ธรรมดา หรือที่เป็นโรค หรือ กลุ่มอาการโรคใหม่ ที่ไม่เคย  เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน และการ
           รายงานมาก่อน หรือพบไม่บ่อย โดยควรมีหลักฐานอย่างครบ  แพทย์ทางเลือก

           ถ้วนหรือมากพอสมควร                              7)  วารสารสโมสร (Journal Club)  เป็นบทแนะนำา
                3)  บทปริทัศน์ (Review Article)  เป็นบทความที่รวบ  บทความวิชาการและงานวิจัยที่ดี น่าสนใจ พร้อมบทวิเคราะห์
           รวมความรู้เรื่องใดเรื่องหนึ่ง จากวารสารหรือหนังสือต่าง ๆ ทั้งใน  และวิจารณ์สั้น ๆ โดยผู้เขียน เพื่อให้ผู้อ่านได้รับทราบและ
           และต่างประเทศ ประกอบด้วย บทคัดย่อทั้งภาษาไทยและภาษา  สามารถนำาไปใช้เป็นประโยชน์หรือศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม


                                                   234
   247   248   249   250   251   252   253   254   255   256   257