Page 254 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 19 ฉบับที่ 1
P. 254
236 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2564
วิธีการศึกษา (Method) ให้ระบุรูปแบบวิธีการศึกษา ข้อสรุป (Conclusions)
(study design) เช่น randomized, double blind controlled แสดงข้อสรุปเกี่ยวกับงานวิจัยทั้งชิ้นจากผลการ
trial หรือ descriptive study หรือ quasi-experimental ศึกษา และการอภิปรายผล รวมทั้งแสดงว่าผลที่ได้ตรงกับ
design ประชากรที่ศึกษา (population) ตัวอย่าง (sample) วัตถุประสงค์การวิจัยหรือไม่ อย่างไร ควรมีข้อเสนอแนะในการ
และขนาดตัวอย่าง (sample size) การสุ่มตัวอย่าง (random- ใช้ประโยชน์ของงานวิจัย ทั้งในระดับนโยบาย ระดับปฏิบัติใน
ization) เช่น การสุ่มตัวอย่างแบบง่าย แบบหลายขั้นตอน วิธี หน่วยงาน หรือการนำาไปประยุกต์ในท้องที่อื่น มีข้อเสนอแนะใน
การ (interventions) หรือวิธีดำาเนินการ (procedure) ที่ทำาการ แง่มุมที่ควรมีการศึกษาเพิ่มเติม หรือให้ประเด็นคำาถามการวิจัย
ศึกษา เช่น วิธีการหรือยาที่ใช้ในการรักษา ชนิดและขนาดของยา สำาหรับการวิจัยต่อไป ทั้งนี้ข้อเสนอแนะควรสัมพันธ์เกี่ยวกับการ
ที่ใช้ ถ้าเป็นวิธีการที่รู้จักทั่วไปให้ระบุในเอกสารอ้างอิง ถ้าเป็นวิธี ศึกษาหรือข้อสรุปที่ได้
ใหม่ อธิบายให้ผู้อ่านเข้าใจแล้วนำาไปใช้ต่อได้ วิธีการเก็บข้อมูล ตาราง และภาพ
วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล และสถิติที่ใช้ ควรคัดเลือกเฉพาะที่จำาเป็น และต้องมีคำาอธิบาย
ผลการศึกษา (Results) สั้น ๆ แต่สื่อความหมายได้สาระครบถ้วน ในกรณีที่เป็นตาราง
บรรยายถึงผลที่ได้จากการศึกษาตามลำาดับหัวข้อ ใช้คำาว่า “ตารางที่” และชื่อตารางอยู่ด้านบน ในกรณีที่เป็นภาพ
ของแผนการศึกษาอย่างชัดเจน ดูได้ง่าย ถ้าผลไม่ซับซ้อนไม่มี ซึ่งครอบคลุม รูปภาพ ภาพวาด กราฟ แผนภาพ (diagram) หรือ
ตัวเลขมาก บรรยายเป็นร้อยแก้ว แต่ถ้าตัวเลขมาก ตัวแปรมาก แผนภูมิ (chart) ภาพลายเส้น ภาพถ่าย ภาพเอกซเรย์ เป็นต้น
ควรใช้ตาราง หรือแผนภาพโดยไม่ควรกล่าวถึงตัวเลขในตาราง ให้ใช้คำาว่า “ภาพที่” และชื่อภาพอยู่ด้านล่าง
เฉพาะที่มีส่วนสำาคัญ ไม่ควรอธิบายตัวเลขอย่างละเอียดในเนื้อ ควรแยกพิมพ์ภาพและตารางต่างหาก ไม่ควรสอด
เรื่อง แทรกไว้ในเนื้อเรื่อง แต่ควรเว้นที่ว่างไว้ในเนื้อเรื่องพอเป็น
อภิปรายผล (Discussion) ที่เข้าใจ พร้อมกับเขียนแจ้งไว้ในกรอบว่า ใช้ตาราง รูป หรือ
เป็นส่วนที่สำาคัญที่สุดของบทความทางวิชาการ แผนภาพใด
เป็นการแสดงให้เห็นว่าการศึกษาวิจัยนี้ สามารถบรรลุ
วัตถุประสงค์ (หรือไม่) ในการค้นหา ต่อยอด อุดช่องว่าง จน ใส่ตารางที่ 1 หรือ ใส่ภาพที่ 1
ได้ความรู้ใหม่ที่เพิ่มจากที่เคยค้นพบมา มีการเปรียบเทียบกับ
การศึกษาที่ผ่านมา เพื่อแสดงถึงความรู้ใหม่ อาจยืนยันความ
รู้เดิมได้บ้าง หรือแตกต่างไปจากผลงานที่มีผู้รายงานไว้ก่อน กิตติกรรมประกาศ (Acknowledgments)
หรือไม่ อย่างไร เพราะเหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น อภิปรายผลที่ไม่ ควรมีเพียงย่อหน้าเดียว ไม่ควรยาวมากนัก เพื่อ
ตรงตามที่คาดหวัง อย่างไม่ปิดบัง แต่พยายามอธิบายถึงแง่ แสดงความขอบคุณที่ได้รับการช่วยเหลือเฉพาะที่สำาคัญ เช่น
มุมใหม่ที่แสดงความสำาคัญของผลการศึกษาที่ได้ว่าไปต่อยอด ผู้บริหาร ผู้ช่วยเหลือทางวิชาการ ผู้สนับสนุนทุนการวิจัย หน่วย
ความรู้เดิมอย่างไร หรืออาจนำาเอาผลการศึกษาอื่นมาอธิบาย งาน หรือแหล่งทุน การใส่ชื่อคนช่วยมาก ๆ ทำาให้บทความด้อย
สิ่งที่ค้นพบจากการวิจัย หรือเอาสิ่งที่ค้นพบไปอธิบายผลการ ความภูมิฐาน เพราะผู้อ่านจะอนุมานว่างานส่วนใหญ่มีคนช่วย
ศึกษาอื่น ทั้งหมด
ความรู้ใหม่ในที่นี้หมายถึง หลัก (principle) ทฤษฎี เอกสารอ้างอิง (References) ดูในหัวข้อการเขียน
(theory) สารสนเทศ (information) หรือความสัมพันธ์ (rela- เอกสารอ้างอิง
tionship) ที่เป็นสิ่งใหม่ ซึ่งสรุปได้จากการศึกษา