Page 165 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 3
P. 165

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 18  No. 3  Sep-Dec  2020  597




            ต่างกันตามส่วนที่ใช้ เช่น ใบมีสรรพคุณแก้หอบหืด   ใช้กัญชาขณะขับขี่เป็นจำานวนมาก เพื่อลดความเสี่ยง
            เจริญอาหาร ชูกำาลัง แต่ผลข้างเคียงทำาให้เกิดอาการ  ในการใช้กัญชาขณะขับขี่แพทย์ควรให้ความรู้เกี่ยวกับ

            หวาดกลัว ตาลาย ประสาทหลอน ดอกมีสรรพคุณแก้   การใช้กัญชาอยากครบถ้วนสำาหรับประเทศไทยยังไม่
            โรคประสาท ทำาให้นอนหลับ เจริญอาหาร กัดเสมหะ   พบว่ามีการศึกษาความรู้และทัศนคติการใช้กัญชาใน
            ในคอ กัญชาถูกนำามาใช้ในรูปแบบการรับประทาน   การรักษาโรค

            การสูดควัน การสูดไอระเหย การนำามาผสมในอาหาร      จากเหตุผลข้างต้นคณะผู้วิจัยจึงมีความสนใจ
                            [2]
            หรือนำามาทำาเป็นชา กระทรวงสาธารณสุขจึงได้นำา  ที่จะศึกษาวิจัยเรื่องความรู้และทัศนคติเกี่ยวกับการ
            ตำารับยาแผนไทยที่มีส่วนผสมของกัญชามาใช้ทั้งหมด   ใช้กัญชาในการรักษาโรคของประชาชนในจังหวัด

            16 ตำารับ ที่พิจารณาเห็นว่ามีประสิทธิผล มีความ  พิษณุโลก เพื่อให้ได้ทราบความรู้และทัศนคติเกี่ยว
            ปลอดภัย วิธีการผลิตที่ไม่ยุ่งยากซับซ้อน ตัวยาหาไม่  กับการใช้กัญชาในการรักษาโรคของประชาชนกลุ่ม
            ยาก มาศึกษาและพัฒนา ขณะเดียวกันก็มีการศึกษา  วัยแรงงานในจังหวัดพิษณุโลก ซึ่งผลการศึกษาที่ได้

            การใช้กัญชาทางการแพทย์แผนปัจจุบัน ใน 4 กลุ่ม  จะนำาไปใช้ประโยชน์ต่อการจัดกิจกรรมให้ความรู้แก่
            โรค คือ ลมชักในเด็ก ปลอกประสาทอักเสบ ผู้ป่วย  ประชาชน และเสริมสร้างทัศนคติที่ถูกต้องเหมาะสม

            มะเร็งที่มีอาการคลื่นไส้อาเจียนจากการได้รับยาเคมี  ต่อการใช้กัญชาในการรักษาโรคต่อไป
            บำาบัด และปวดเรื้อรัง
                 ปัจจุบันประชาชนมีการใช้กัญชารักษาโรคด้วย           ระเบียบวิธีศึกษ�

            ตนเองเป็นจำานวนมากเนื่องจากการโฆษณาสรรพคุณ       การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำารวจ (survey
            ของกัญชาทางสื่อออนไลน์ทำาให้ประชาชนหลงเชื่อ  research) แบบภาคตัดขวาง (cross-sectional

                                  [3]
            และนำามาใช้โดยไม่มีความรู้  มีรายงานว่าในเดือน  study) เกี่ยวกับความรู้และทัศนคติเกี่ยวกับการ
            พฤษภาคม 2562 มีผู้ป่วยจำานวน 7 คน อายุระหว่าง   ใช้กัญชาในการรักษาโรคของประชาชนในจังหวัด
            20-60 ปีเข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาล เนื่องจากใช้  พิษณุโลก

            กัญชาเพื่อรักษาโรคด้วยตนเองเกินขนาด ทำาให้มี     ประชากรและการสุ่มตัวอย่าง
            อาการคลื่นไส้ อาเจียน เวียนศีรษะ ผลกระทบจาก      ประชากร ประชากรที่ใช้ศึกษาครั้งนี้ คือ
            การใช้กัญชาเกินขนาดนี้ทำาให้ประชาชนเกิดความสูญ  ประชากรในจังหวัดพิษณุโลกที่มีอายุระหว่าง 20-59

            เสียทั้งเรื่องเวลาของการประกอบอาชีพ ค่าใช้จ่ายใน  ปี จำานวน 513,900 คน [6]
            การเดินทางมารับการรักษา และค่ารักษาพยาบาล ซึ่ง     กลุ่มตัวอย่าง คำานวณขนาดกลุ่มตัวอย่างจาก
            กัญชายังจัดว่าเป็นยาเสพติด และไม่สามารถรักษาได้  ประชากรในจังหวัดพิษณุโลกที่มีอายุระหว่าง 20-59

            ทุกโรค หากอยู่นอกเหนือจาก 4 กลุ่มโรคที่กรมการ  ปี โดยใช้สูตรคำานวณของยามาเน่ที่ระดับความเชื่อ
            แพทย์ระบุหากประชาชนต้องการใช้ต้องเป็นไปตามข้อ  มั่น ร้อยละ 95 ได้กลุ่มตัวอย่าง 400 คน และเพื่อ

            บ่งชี้ทางการแพทย์เท่านั้น  จากการศึกษาของนามกี จี   ป้องกันความผิดพลาดของข้อมูลที่อาจไม่ครบถ้วน
                               [4]
            ซอย และคณะ  ได้ทำาการศึกษาเรื่องผู้สูงอายุขับรถ  จึงได้เก็บกลุ่มตัวอย่างเพิ่มอีก 10% ดังนั้นขนาดกลุ่ม
                        [5]
            ขณะมึนเมาจากสมาคมการใช้กัญชาพบว่ามีผู้สูงอายุ  ตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้จำานวน 440 คน สุ่ม
   160   161   162   163   164   165   166   167   168   169   170