Page 170 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 3
P. 170

602 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 18  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2563



                         อภิปร�ยผล                     ไว้ครอบครอง ให้กับประชาชนอย่างถูกต้อง และ

                ผลการวิจัยพบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มี  ครอบคลุมทุกพื้นที่

           ความรู้เกี่ยวกับกัญชาในการรักษาโรคอยู่ในระดับ     ผลการวิจัยพบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มี
           ปานกลาง ในข้อที่ตอบได้ถูกต้องที่สุดคือในเรื่อง  ทัศนคติเกี่ยวกับการใช้กัญชาอยู่ระดับปานกลางมี
           ของส่วนที่มีสาระสำาคัญในกัญชามากที่สุด คิดเป็น   คะแนนเฉลี่ย 2.95 ทั้งนี้เป็นเพราะความรู้หรือความ

           ร้อยละ 86.00 จากกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด ส่วนที่ตอบได้  นึกคิดเป็นส่วนที่เป็นความเชื่อของบุคคลทั้งในสิ่งที่
           น้อยที่สุดเป็นเรื่องเกี่ยวกับลักษณะของการนำากัญชา  ชอบและไม่ชอบหากบุคคลมีความรู้หรือความสนใจ
           มาใช้ในการรักษาโรค ทั้งนี้เป็นเพราะกลุ่มตัวอย่าง  ในสิ่งนั้น ๆ มักมีทัศนคติที่ดีต่อสิ่งนั้น หากมีความรู้

           ส่วนใหญ่ไม่เคยได้รับข้อมูลข่าวสารเรื่องการใช้กัญชา  มาก่อนว่าสิ่งใดไม่ดีก็จะมีทัศนคติไม่ดีต่อสิ่งนั้น ผล
           ทางการแพทย์แม้ปัจจุบันประชาชนให้ความสนใจใน  จากการศึกษากลุ่มตัวอย่างให้เห็นถึงความสำาคัญ
           การใช้พืชสมุนไพรโดยศึกษาจากโฆษณาหรือทางสื่อ  และประโยชน์ของการใช้กัญชาในทางการแพทย์

           ออนไลน์อย่างมากมายก็ตาม ซึ่งสอดคล้องกับงาน  ในการรักษาโรคซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของสุกิจ
           วิจัยของภิษณี วิจันทึก ที่ศึกษาความรู้ทัศนคติและ  ไชยชมภูเป็นการศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับ
                            [10]
           พฤติกรรมการใช้ผลิตภัณฑ์สมุนไพรของประชาชน    พฤติกรรมการใช้สมุนไพรรักษาโรคของประชาชน
           บ้านหนองบัวศาลา อำาเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา   ในเขต 11 กระทรวงสาธารณสุข มีทัศนคติต่อการใช้
           ผลการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีความ  สมุนไพรรักษาโรคซึ่งอยู่ในระดับปานกลาง ทั้งนี้ผู้มี

           รู้เกี่ยวกับการใช้ผลิตภัณฑ์สมุนไพรอยู่ในระดับ  ส่วนเกี่ยวข้องควรจัดกิจกรรมหรือการอบรมเผยแพร่
           ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 51.20 งานวิจัยของสุกิจ    ข้อมูล เรื่องการใช้กัญชาในการรักษาโรค เพื่อสร้าง

                         [11]
           ไชยชมภูและคณะ ซึ่งศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์  ความรู้ ความเข้าใจ และทัศนคติที่ดีต่อการใช้กัญชา
           กับพฤติกรรมการใช้สมุนไพรรักษาโรคของประชาชน   ในการรักษาโรคให้เป็นไปตามกฎหมายกำาหนด อันจะ
           ในเขต 11 กระทรวงสาธารณสุข พบว่ากลุ่มตัวอย่าง  นำาไปสู่การปฏิบัติที่ถูกต้องเหมาะสมรวมถึงจะเป็นการ

           มีพฤติกรรมการใช้สมุนไพรรักษาโรคโดยรวมอยู่ใน  สร้างความมีคุณค่าแก่สมุนไพรไทยว่ามีประสิทธิผล
           ระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 36.20 อีกทั้งยังพบ  เทียบเคียงได้กับยาแผนปัจจุบันซึ่งจะเป็นทางเลือก
                                               ่
           ว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีระดับการศึกษาตำากว่า  หนึ่งให้กับประชาชนในการรักษาโรค อีกทั้งจะช่วยลด
           ปริญญาตรียังไม่มีความรู้ในเรื่องของการรักษาโรค  งบประมาณในการรักษาโรคให้แก่ระบบสุขภาพไทย
           ด้วยกัญชา ดังนั้นผู้ที่เกี่ยวข้องควรเร่งพัฒนาจัดให้
           มีกิจกรรมหรือการอบรมเผยแพร่ข้อมูลความรู้เกี่ยว              ข้อสรุป

           กับการใช้กัญชาในการรักษาโรค เช่น ลักษณะทาง      จากผลการวิจัยประชาชนยังมีความรู้เรื่อง
           พฤกษศาสตร์ของต้นกัญชา รูปแบบการนำากัญชามา   ลักษณะต้นของกัญชา อาการที่ใช้กัญชาในการบำาบัด

           ใช้ อาการป่วยที่สามารถใช้กัญชาการรักษาได้ โรค  รักษารวมถึงผลข้างเคียงจากการใช้กัญชาในลักษณะ
           ต้องห้ามในการใช้กัญชา ผลข้างเคียงจากการใช้  หรือปริมาณที่ไม่ถูกต้องเรื่องของกฎหมายเกี่ยวกับ
           กัญชาบำาบัดโรค รวมถึงความรู้พืชฐานในการมีกัญชา  การมีกัญชาไว้ครอบครองในการรักษาโรคหน่วยงาน
   165   166   167   168   169   170   171   172   173   174   175