Page 164 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 3
P. 164

596 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 18  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2563





              Knowledge and Attitudes about Medical Cannabis among People in
              Phitsanulok Province

              Preedaporn Saijanket*, Pimporn Nojan, Nitirat Meekai, Rassamee Suknarin
              Department of Thai Traditional Medicine, Sirindhorn College of Public Health, Phitsanulok 65130, Thailand
              *Corresponding author: Nitirat@scphpl.ac.th


                                                Abstract
                   This research aimed to study knowledge and attitudes about the therapeutic use of cannabis among the
              people in Phitsanulok province. According to the multi-stage random sampling calculation, 400 people in the 20-
              59-year age group were recruited into the study. Data were collected using a knowledge assessment form and then
              analyzed using descriptive statistics including percentage, mean, and standard deviation. The results showed that
              the respondents’ overall knowledge was at a moderate level (mean score, 19.02; SD, 0.46). The knowledge levels
              were moderate about cannabis’s botanical aspect (mean, 4.33; SD, 0.43), medical use (mean, 5.55; SD, 0.46), side
              effects (mean, 4.82; SD, 0.47), and basic legal aspect (mean, 4.32; SD, 0.47); and the overall attitude level towards
              medical cannabis was moderate (mean, 2.95; SD, 0.37) – the first three highest levels being cannabis knowledge
              promotion (mean, 4.33; SD, 0.89), followed by current inaccurate advertisements about cannabis  causing misin-
              formation (mean, 3.94; SD, 0.92), and cannabis’ therapeutic properties (mean, 3.92; SD, 0.91). Thus, the correct
              or accurate knowledge or information of medical cannabis needs to be given to the people as well as public health
              personnel; and positive attitudes on this matter have to be created.
                   Key words:  knowledge, attitude, medical cannabis, working age








                    บทนำ�และวัตถุประสงค์               ต่อมาในปี พ.ศ. 2562 ได้มีการตราพระราชบัญญัติ

                พืชสมุนไพรพื้นบ้านของไทยปัจจุบันได้ถูกนำาใช้  ยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562 โดยมีการ
           ในการรักษาโรคเป็นที่ยอมทั้งในทางการแพทย์แผน  แก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายเดิม เพื่อให้สามารถใช้กัญชา

           ไทยและทางแพทย์แผนปัจจุบัน กัญชาจัดเป็นพืช   ในการนำามารักษาโรคได้
                                                                         [1]
           สมุนไพรซึ่งในสมัยโบราณมีการนำามาใช้เป็นยารักษา     กัญชา (Cannabis) ชื่อวิทยาศาสตร์ Cannabis
           โรคกันอย่างแพร่หลายในประเทศไทย กัญชาจัดเป็น  sativa. จัดเป็นพืชสมุนไพรที่มีประโยชน์ถูกนำามาใช้

           ยาเสพติดให้โทษประเภทที่ 5 ตามพระราชบัญญัติยา  ในทางการแพทย์ตั้งแต่ในอดีตกาลในรูปแบบตำารับใน
           เสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 ห้ามมิให้ผู้ใดผลิต จำาหน่าย  ทางการแพทย์แผนไทย กัญชามีส่วนที่ใช้เป็นตัวยาใน

           นำาเข้าส่งออกหรือมีไว้ครอบครองเว้นแต่รัฐมนตรีจะ  ตำารับเกือบทุกส่วนไม่ว่าจะเป็นราก ก้าน ใบ และยอด
           อนุญาตโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ  การ      ช่อดอกตัวเมีย (ซึ่งมีฤทธิ์แรงที่สุด) ตำาราสรรพคุณ
           เสพยาเสพติดให้โทษดังกล่าวมีความผิดตามกฎหมาย   ยาไทยระบุว่ากัญชามีรสเมาเบื่อ มีสรรพคุณแตก
   159   160   161   162   163   164   165   166   167   168   169