Page 90 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 2
P. 90

312 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก      ปีที่ 18  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2563




                ผลการวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยจำานวนลูกนำ้ายุงลาย  ลูกนำ้ายุงลายได้เช่นกัน แต่มีข้อจำากัด เช่น ปริมาณไม่
           จากอ่างที่ใช้ทำาการทดลองกลุ่มละ 15 อ่าง (ตารางที่ 1)   เพียงพอต่อการนำามาใช้ กลิ่น เป็นต้น การศึกษาครั้ง

           พบว่ากลุ่มควบคุมเริ่มพบลูกนำ้ายุงลายในครั้งที่ 4 (วัน  นี้ใช้สารสกัดหยาบจากใบยูคาลิปตัสปริมาณ 1
           ที่ 8) ที่ทำาการตรวจนับลูกนำ้ายุงลาย พบจำานวน 1 อ่าง   มิลลิลิตร เนื่องจากเส้นผ่านศูนย์กลางของอ่างมีขนาด
           ครั้งที่ 5 (วันที่ 10) พบจำานวน 5 อ่าง ครั้งที่ 6 (วันที่ 12)   ไม่ใหญ่มากนัก แต่ถ้ามีการนำาไปใช้ในชุมชนสามารถ

           พบจำานวน 10 อ่าง และครั้งที่ 7 (วันที่ 14) พบจำานวน   เพิ่มปริมาณของสารสกัดได้ การเพิ่มปริมาณสารสกัด
           15 อ่าง ส่วนกลุ่มทดลองไม่พบลูกนำ้ายุงลายตลอดการ  ตามขนาดของเส้นผ่านศูนย์กลางภาชนะ จะช่วยเพิ่ม
           ทดลอง                                       ประสิทธิภาพในการป้องกันการวางไข่ของยุงลายได้

                                                       การใช้สมุนไพรในการป้องกันการวางไข่ของยุงหรือใช้
                         อภิปร�ยผล                     กำาจัดลูกนำ้ายุงลายมีความปลอดภัยมากกว่าการใช้สาร

                จากผลการศึกษาพบว่ากลุ่มทดลองไม่พบลูกนำ้า  เคมีกำาจัดแมลง โดยเฉพาะทรายอะเบทซึ่งเป็นสาร

           ยุงลายเนื่องจากมีการใส่สารสกัดหยาบจากใบยูคา  ออร์กาโนฟอสเฟตที่ต้องใช้ตามอัตราส่วนที่ฉลาก
           ลิปตัส สารสกัดหยาบนี้จะมีส่วนประกอบของนำ้ามัน  แนะนำาได้อย่างถูกต้อง แต่ถ้ามีการใช้ในอัตราส่วนที่

                                                                                             [7]
           หอมระเหยที่มีไฮโดรคาร์บอนเป็นองค์ประกอบหลัก  ไม่เหมาะสม อาจจะทำาให้เกิดพิษต่อสิ่งแวดล้อมได้
           และสามารถป้องกันการวางไข่ของยุงลายได้ การใช้
           สารสกัดจากใบยูคาลิปตัสเพื่อใช้ในการป้องกันการ               ข้อสรุป

           วางไข่ของยุงลายเป็นทางเลือกในการใช้พืชที่มีอยู่     สารสกัดหยาบจากใบยูคาลิปตัสสามารถป้องกัน
                                                                     ้
           ทั่วไปในการป้องกันการแพร่กระจายของยุงลาย    การเกิดของลูกนำายุงลายได้ สมควรทำาการศึกษา
           สอดคล้องกับการศึกษานำ้ามันหอมระเหยจากใบยูคา  เพิ่มเติมเพื่อเป็นอีกทางเลือกของการนำาสมุนไพรใน
           ลิปตัสเพื่อใช้กำาจัดลูกนำ้ายุงลาย ของ Hazarika, et   ท้องถิ่นมาใช้ในการป้องกันโรคไข้เลือดออกใน
             [4]
           al  และ Fazal, et al  ที่ออกแบบการทดสอบความ  ชุมชน ข้อดีของสารสกัดจากใบยูคาลิปตัสคือมีความ
                           [5]
           เป็นพิษของนำ้ามันหอมระเหยที่สกัดจากใบยูคาลิปตัส  ปลอดภัยมากกว่าการใช้สารเคมีกำาจัดแมลง สามารถ
           ต่อการตายของลูกนำ้ายุงลาย พบว่าค่า LC อยู่ที่   หาได้ทั่วไปในทุกภูมิภาค ทั้งนี้ การศึกษานี้เป็นเพียง
                                             50
           51.93 mg/l และ 68.90 mg/l ตามลำาดับ อย่างไรก็ดี  การศึกษาเบื้องต้น เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด

           การใช้สารสกัดจากใบยูคาลิปตัสในการกำาจัดยุงลาย  ควรมีการศึกษาเพิ่มเติมด้านความเข้มข้นที่เหมาะสม
           ยังมีข้อจำากัดเนื่องจากในสภาพจริง ภาชนะที่เก็บกัก  และอื่น ๆ ต่อไป
           นำ้าเพื่อใช้บริโภคและอุปโภคของประชาชนมีขนาด

           ใหญ่ ดังนั้นจะต้องใช้สารสกัดปริมาณมากในการ             กิตติกรรมประก�ศ
           กำาจัดลูกนำ้ายุงลาย เช่นเดียวกับสมุนไพรอีกหลายชนิด     ขอขอบคุณผู้อำานวยการโรงพยาบาลสมเด็จ

           ที่นำามาใช้ในการกำาจัดลูกนำ้ายุงลายและป้องกันการ  พระยุพราชธาตุพนมที่สนับสนุนสถานที่ให้ดำาเนินการ
           วางไข่ของลูกนำ้ายุงลาย เช่น มะกรูด ตะไคร้หอม และ  ศึกษา
           ใบสาบเสือ  สมุนไพรเหล่านี้มีฤทธิ์ในการป้องกัน
                    [6]
   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95