Page 69 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 2
P. 69
J Thai Trad Alt Med Vol. 18 No. 2 May-Aug 2020 291
มหาวิทยาลัยมหิดล ส่วนยาหลอกเป็นยาที่มีรูปแบบ สถิติ Independent t test, Mann-Whitney test,
เช่นเดียวกับยาปลูกไฟธาตุ ในงานวิจัยนี้ก�าหนดให้ Chi-square test, Fisher’s exact และ Wilcoxon
เป็นยาแคปซูลขนาดแคปซูลละ 250 มิลลิกรัม ภายใน signed-rank test โดยก�าหนดค่านัยส�าคัญทางสถิติ
บรรจุแป้งข้าวโพดซึ่งไม่ส่งผลต่อการกระตุ้นน�้านม ไม่ ที่ค่า p < 0.05
ส่งผลให้เป็นอันตรายกับผู้ใช้ยา และการไหลของผง
ยาดีกว่าแป้งชนิดอื่น มีการส่งตรวจวิเคราะห์ที่ศูนย์ ผลก�รศึกษ�
วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 5 นครราชสีมา ผลิตภัณฑ์ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลลักษณะทางประชากรที่
ยาปลูกไฟธาตุและยาหลอกถูกก�าหนดให้มีรหัสยาจาก จุดเริ่มต้นของการศึกษา ได้แก่ อายุเฉลี่ย ปริมาตร
หมายเลข 1-49 ตามหลักการสุ่มแบบบล็อก (blocked น�้านมก่อนให้ยา ประวัติการตั้งครรภ์ ประวัติการแท้ง
randomization) ก�าหนดขนาดบล็อก (block size) บุตร อายุครรภ์เฉลี่ย และอาชีพ พบว่า ทั้งสองกลุ่มไม่
เท่ากับ 4 แตกต่างกัน ดังแสดงในตารางที่ 1
วิธีก�รศึกษ� ผลต่อปริม�ตรนำ้�นม
1. ขั้นตอนก�รศึกษ� ผลการวัดปริมาตรน�้านมหลังการให้ยาแสดงใน
ขั้นตอนการศึกษาเริ่มต้นที่การประชาสัมพันธ์ ตารางที่ 2 พบว่า กลุ่มตัวอย่างที่ได้รับยาปลูกไฟธาตุ
โครงการแก่ผู้เข้าร่วมวิจัยแม่หลังคลอด โดยการติด และกลุ่มที่ได้รับยาหลอกมีปริมาตรน�้านมเพิ่มขึ้น
ป้ายประชาสัมพันธ์ในโรงพยาบาลที่เป็นแหล่งศึกษา อย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติในระยะเวลา 3 วัน นับจาก
ประเมินผู้เข้าร่วมวิจัยแม่หลังคลอดตามเกณฑ์ ผู้เข้า เริ่มได้รับยา (p < 0.001) โดยกลุ่มที่ได้รับยาหลอก
ร่วมวิจัยแม่หลังคลอดที่เข้าร่วมการศึกษาแต่ละคนจะ สามารถเพิ่มปริมาตรน�้านมได้ 43.12 ± 40.08
ถูกให้ยาตามล�าดับที่จัดไว้ ท�าให้ผู้เข้าร่วมวิจัยถูกแบ่ง มิลลิลิตร ส่วนกลุ่มที่ได้รับยาปลูกไฟธาตุสามารถเพิ่ม
ออกเป็น 2 กลุ่ม ได้รับยาปลูกไฟธาตุหรือยาหลอก ทั้ง ได้ 51.01 ± 54.97 มิลลิลิตร ปริมาตรน�้านมที่เพิ่มขึ้น
สองกลุ่มรับประทานยาขนาด 250 มิลลิกรัม จ�านวน 3 ทั้งหมดไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ
เม็ดวันละ 4 ครั้ง ก่อนอาหาร และก่อนนอน เป็นเวลา ระหว่าง 2 กลุ่ม (p = 0.567)
3 วัน ประเมินผลด้วยการวัดปริมาตรน�้านมเป็นหน่วย เมื่อวิเคราะห์จ�านวนคนที่มีปริมาตรน�้านมเพิ่ม
มิลลิลิตร โดยใช้เครื่องปั๊มนม ก่อนให้ยามื้อต่อไปวัน ขึ้นโดยเทียบกับก่อนใช้ยา พบว่า กลุ่มที่ได้ยาปลูก
ละ 4 ครั้ง ติดตามอาการไม่พึงประสงค์และความพึง ไฟธาตุ มีจ�านวนคนที่มีปริมาตรน�้านมเพิ่มขึ้น 110
พอใจของผู้เข้าร่วมวิจัยตลอดการศึกษา (ภาพที่ 1) มิลลิลิตรขึ้นไป อยู่จ�านวน 6 คน (ร้อยละ 25) ซึ่ง
2. ก�รวิเคร�ะห์ข้อมูล มากกว่ากลุ่มที่ได้รับยาหลอกซึ่งมีเพียง 1 คน (ร้อยละ
วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรม STATA 4) อย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ (c = 4.4100, df = 1, p
2
ลักษณะทางประชากรของกลุ่มตัวอย่างวิเคราะห์ด้วย = 0.036) (ตารางที่ 3) ส่วนจ�านวนคนที่มีปริมาตรน�้านม
สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและ เพิ่มขึ้นน้อยกว่า 110 มิลลิลิตร พบว่า กลุ่มที่ได้รับยา
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบสมมติฐานโดยใช้ หลอกมีจ�านวน 24 คน (ร้อยละ 96) มากกว่ากลุ่มที่ได้