Page 67 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 2
P. 67

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 18  No. 2  May-Aug  2020  289




              สูงขึ้น จากร้อยละ 5.4 ในปี พ.ศ. 2549 เป็น 47.5 ใน  แผนไทยส�าหรับโรคของสตรีนั้นได้กล่าวถึงแม่หลัง
              ปี พ.ศ. 2555  แต่ยังไม่บรรลุเป้าหมายของประเทศ    คลอดไว้ในคัมภีร์ โดยกล่าวถึงยาต�ารับหนึ่งชื่อ “ยา
              ซึ่งก�าหนดไว้ที่ร้อยละ 50 ประเทศไทยได้ยืนยัน  ปลูกไฟธาตุ’’ แนะน�าว่าเป็นต�ารับที่ใช้ในแม่ลูกอ่อนที่

              เจตนารมณ์ในการร่วมมือกับสหประชาชาติในการลด  มีน�้านมน้อย โดยต�ารับยาปลูกไฟธาตุนั้นมีสรรพคุณ
              อัตราการเสียชีวิตของแม่และเด็ก โดยตั้งเป้าหมายว่า  ช่วยกระตุ้นน�้านมได้  แม้ว่าในปัจจุบันจะยังไม่พบ
                                                                          [7]
              จะเพิ่มอัตราการให้นมแม่อย่างเดียวใน 6 เดือนแรก   การศึกษาที่ชี้ชัดถึงกลไกการกระตุ้นน�้านมของยา
              เป็นร้อยละ 60                               ต�ารับนี้ แต่คาดว่าอาจเนื่องจากในสูตรต�ารับยาปลูก
                         [2]
                   ปัญหาส�าคัญอย่างหนึ่งที่ท�าให้แม่ไม่สามารถให้  ไฟธาตุประกอบด้วย สมุนไพรที่มีรสร้อน เช่น พริก

              นมลูกได้ตามปกติ คือ น�้านมแม่มีน้อยหรือมีปริมาณ  ไทยล่อน ดอกดีปลี เป็นต้น ซึ่งจะช่วยการไหลเวียน
              ไม่เพียงพอ การสร้างน�้านมได้น้อยอาจเกิดจากหลาย  ของเลือด และส่งผลต่อการกระตุ้นการสร้างน�้านมให้

              สาเหตุ ได้แก่ 1) ลูกไม่ได้ดูดนมแม่ภายในวันแรกหรือ  มากขึ้น ปัจจุบันยาปลูกไฟธาตุได้รับการบรรจุเข้าบัญชี
              ทันทีหลังคลอด 2) ให้ลูกดูดนมไม่ถูกวิธี ดูดไม่บ่อย   ยาหลักสมุนไพรแห่งชาติแล้ว อยู่ในหมวดยารักษา
              หรือดูดนมแต่ละมื้อไม่นานพอ ท�าให้น�้านมไม่ถูกดูด  กลุ่มอาการทางสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา  แต่ยังขาด
                                                                                        [8]
              จนเกลี้ยงเต้า 3) ให้กินนมผสมร่วมกับนมแม่ ท�าให้ลูก  ข้อมูลการศึกษาวิจัยเรื่องประสิทธิผลและความ
              ดูดนมแม่น้อยลง การกระตุ้นเต้านมให้สร้างน�้านมและ  ปลอดภัยในการรักษา การวิจัยจึงมีความสนใจในการ
              ขับน�้านมจึงลดลงด้วย 4) แม่กังวลหรือมีความเครียด   ศึกษาประสิทธิผลในการเพิ่มน�้านมและความ

              5) แม่ได้รับอาหารหรือน�้าไม่เพียงพอ 6) แม่พักผ่อน  ปลอดภัยของการใช้ยาปลูกไฟธาตุในหญิงหลังคลอด
              ไม่เพียงพอ และ 7) แม่กินยาบางชนิดหรือกินยาคุม  ที่มีน�้านมน้อย เพื่อใช้เป็นแนวทางในการดูแลหญิง
              ก�าเนิด การปรับพฤติกรรมดังกล่าวที่เป็นสาเหตุจะ  หลังคลอดที่มีน�้านมน้อยหรือไม่เพียงพอต่อไป

              ช่วยกระตุ้นให้มีปริมาณน�้านมมากขึ้น  แต่ถ้าหาก
                                            [3]
              ไม่สามารถกระตุ้นน�้านมได้ส�าเร็จ อาจพิจารณาใช้ยา       ระเบียบวิธีศึกษ�

              ช่วยกระตุ้นการสร้างน�้านมได้ ในทางปฏิบัติทางการ     การศึกษานี้เป็นการวิจัยทางคลินิกแบบสุ่มที่มี
              แพทย์ในปัจจุบัน มียาที่นิยมใช้เพื่อการกระตุ้นน�้านม   กลุ่มควบคุมและปกปิดแบบสองทาง (randomized
              คือ domperidone ซึ่งยาตัวนี้มีข้อบ่งใช้ในการต้าน  double blinded controlled trial) เปรียบเทียบผล

              การอาเจียน domperidone เป็น peripheral dopa-  การได้รับยาปลูกไฟธาตุ (3 กรัม/วัน แบ่งให้วันละ 4
              mine receptor antagonist กระตุ้นการผลิตน�้านม  ครั้ง) และยาหลอก โดยศึกษาในกลุ่มตัวอย่างเป็น

              โดยการเพิ่มการหลั่งฮอร์โมนโปรแลคติน (prolactin)   หญิงหลังคลอดครรภ์ครบก�าหนด คลอดปกติ มีน�้านม
              การใช้ยา domperidone ในการกระตุ้นน�้านมเป็นการ  น้อย เริ่มได้รับยาครั้งแรกเมื่อเวลา 2 ชั่วโมงหลังคลอด
              ใช้ยานอกข้อบ่งใช้ (off-label use) อย่างไรก็ตามจน   เป็นเวลา 3 วัน เก็บน�้านมโดยใช้เครื่องปั๊มนมไฟฟ้าวัน

              ถึงปัจจุบันยังไม่มียาที่มีฤทธิ์ในการกระตุ้นน�้านม  ละ 4 ครั้ง บันทึกปริมาตรทุกครั้ง การศึกษาครั้งนี้ผ่าน
              โดยตรง [4-6]                                การรับรองจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์จาก คณะ
                   ในคัมภีร์มหาโชตรัตซึ่งเป็นต�าราด้านการแพทย์  กรรมการพิจารณาการศึกษาวิจัยในคนด้านการแพทย์
   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72