Page 62 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 2
P. 62

284 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก      ปีที่ 18  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2563




           27.15 และสารสกัดชนิดของเหลว เท่ากับ 21.87 และ   สารไทรเทอร์พีนส์เอสเตอร์ไกลโคไซด์ ได้แก่ asiati-
           18.37% โดยน�้าหนัก                          coside, madecassoside และ สารไทรเทอร์พีนส์

                                                       ได้แก่ asiatic acid และ madecassic acid ใน
                         อภิปร�ยผล                     วัตถุดิบและสารสกัดบัวบก จ�านวน 9 ตัวอย่าง สามารถ

                บัวบกเป็นสมุนไพรที่มีศักยภาพเชิงพาณิชย์และ  น�าไปใช้เป็นข้อมูลเบื้องต้นในการก�าหนดปริมาณสาร

           มีประโยชน์ทั้งเป็นยาและเป็นผลิตภัณฑ์สุขภาพ   ไทรเทอร์พีนส์เอสเตอร์ไกลโคไซด์ และสารไทรเทอร์-
           สามารถน�ามาพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เช่น เครื่อง  พีนส์ ในบัวบกได้ โดยก�าหนดจากค่าเฉลี่ยของปริมาณ
           ดื่มสมุนไพร ผลิตภัณฑ์เครื่องส�าอาง มีรายงานการ  สารกลุ่มไทรเทอร์พีนส์รวมในตัวอย่าง ลบด้วยค่า

           ศึกษาทางวิทยาศาสตร์ทางด้านเคมี เภสัชวิทยาและ  เบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยมีปริมาณ asiaticoside,
           พิษวิทยามากมายที่สนับสนุนการใช้ แต่การพัฒนาเป็น  madecassoside, asiatic acid และ madecassic
           ผลิตภัณฑ์นั้น ปัจจัยที่ส�าคัญหนึ่งที่ควรค�านึงถึงคือ  acid ในวัตถุดิบมีค่าเท่ากับ 1.07, 4.13, 0.32 และ

           ปัจจัยด้านคุณภาพของสมุนไพร เนื่องจากบัวบกมีสาร  0.25% โดยน�้าหนัก ตามล�าดับ และในสารสกัดมีค่า
           ส�าคัญกลุ่มไทรเทอร์พีนส์ และไทรเทอร์พีนส์ไกลโคไซด์   เท่ากับ 3.13%, 12.17%, 1.12%, 1.19% โดยน�้าหนัก

           ที่มีฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา ในการวิเคราะห์ด้วยวิธีที่  ตามล�าดับ และสามารถน�าไปใช้เป็นข้อมูลในการ
           พัฒนาขึ้นใช้ methanol ในการสกัดตัวอย่างวัตถุดิบ   ก�าหนดปริมาณสารไทรเทอร์พีนส์รวมในวัตถุดิบ
           แล้วน�ามาวิเคราะห์ด้วย Ultra Performance Liquid   บัวบกและสารสกัด ซึ่งมีค่าเท่ากับ 5.77%, 17.61%

           Chromatography (UPLC) ในการพัฒนาวิธีวิเคราะห์  โดยน�้าหนัก ตามล�าดับ
           ปริมาณสารไทรเทอร์พีนส์เอสเตอร์ไกลโคไซด์ ได้แก่      จากผลการวิเคราะห์ปริมาณสารไทรเทอร์พีนส์

           asiaticoside, madecassoside และ ไทรเทอร์พีนส์   เอสเตอร์ไกลโคไซด์ ได้แก่ asiaticoside, madecas-
           ได้แก่ asiatic acid และ madecassic acid ใน  soside และ สารไทรเทอร์พีนส์ ได้แก่ asiatic acid
           วัตถุดิบและสารสกัดบัวบก จากการทดสอบความ     และ madecassic acid ในวัตถุดิบบัวบกที่เก็บใน

           ใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์ asiaticoside, madecasso-  ประเทศไทย เมื่อเปรียบเทียบกับ WHO monograph
           side, asiatic acid และ madecassic acid พบว่าการ  และ USP monograph  ของสมุนไพรชนิดนี้ ซึ่งมี
                                                                         [17]
           วิเคราะห์มีความแม่นย�า โดยพิจารณาจาก %recovery   การก�าหนดปริมาณสารไทรเทอร์พีนส์เอสเตอร์ไกล-

           ของการวิเคราะห์ spike sample อยู่ในเกณฑ์การ  โคไซด์ ได้แก่ asiaticoside และ madecassoside
           ยอมรับ (95-105%) และค่า HORRAT อยู่ในเกณฑ์  ควรมีปริมาณไม่น้อยกว่า 2.0% โดยน�้าหนัก ซึ่งแสดง
           การยอมรับ (HORRAT < 2) ซึ่งแสดงว่าวิธีดังกล่าว  ให้เห็นว่า สมุนไพรบัวบกของประเทศไทยมีคุณภาพ

           มีความเที่ยง และสามารถน�าไปใช้วิเคราะห์หาปริมาณ  ที่ดี และมีปริมาณสารส�าคัญสูงกว่าที่มาตรฐานก�าหนด
           สาร asiaticoside, madecassoside, asiatic acid      นอกจากนี้ การศึกษาครั้งนี้ ยังได้เปรียบเทียบ

           และ madecassic acid ในตัวอย่างวัตถุดิบและสาร  ในสารสกัดบัวบกที่เตรียมขึ้นในห้องปฏิบัติการ โดย
           สกัดบัวบก ส�าหรับการควบคุมคุณภาพของวัตถุดิบ  เปรียบเทียบกับสารสกัดที่มีขายในท้องตลาด มี 2 ชนิด
           และสารสกัดบัวบกต่อไป จากผลการวิเคราะห์ปริมาณ  คือ สารสกัด Centella extract ชนิดของเหลว และ
   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67