Page 214 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 2
P. 214

436 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก     ปีที่ 18  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2563




             สีชมพูอ่อน ใบประดับรูปใบหอก ยาว 4-5 เซนติเมตร   ศูนย์กลาง 5-9 เซนติเมตร ผิวย่น สีนำ้าตาลอ่อนถึงสี
             กลีบเลี้ยงสีขาวหรือสีขาวอมสีชมพูอ่อน โคนติดกัน  นำ้าตาลเข้ม อาจพบรากฝอยขนาดเล็กติดอยู่ด้วย ส่วน
             เป็นหลอด ยาว 1.5-2 เซนติเมตร ปลายแยกเป็น 3   เหง้าและรากที่ตัดเป็นชิ้นบาง ๆ มีทั้งที่ตัดตามยาวและ

             แฉก กลีบดอกโคนติดกันเป็นหลอด ยาว 4.5-5.5    ตามขวาง ขนาดไม่แน่นอน ผิวนอกย่น สีนำ้าตาล เนื้อ
             เซนติเมตร ปลายแยกเป็น 3 แฉก รูปขอบขนาน ขนาด  ในสีนวลถึงสีนำ้าตาลอ่อน กลิ่นหอมเฉพาะ รสเผ็ดร้อน

             ไม่เท่ากัน แฉกใหญ่ 1 กลีบ กว้างประมาณ 7 มิลลิเมตร   ขม [1]
             ยาวประมาณ 1.8 เซนติเมตร อีก 2 แฉกขนาด           องค์ประกอบทางเคมี กระชายมีนำ้ามันระเหยง่าย
             เท่ากัน กว้างประมาณ 5 มิลลิเมตร ยาวประมาณ 1.5   (volatile oil) เล็กน้อย มีองค์ประกอบเคมีเป็นสาร

             เซนติเมตร กลีบข้าง (เกสรเพศผู้เป็นหมันคล้ายกลีบ  โบเซนเบอร์จินเอ (boesenbergin A), โบเซนเบอร์-
             ดอกอยู่ด้านข้าง) มี 2 กลีบ สีชมพูอ่อน รูปไข่กลับ ยาว  จินบี (boesenbergin B), แพนดูราทินเอ (pandura-

             ประมาณ 1.5 เซนติเมตร กลีบปาก (เกสรเพศผู้เป็น  tin A), แพนดูราทินบี (panduratin B), คาร์ดามอนิน
             หมันคล้ายกลีบดอกอยู่ตรงกลาง) สีขาวหรือสีชมพู    (cardamonin), 2’,6’-ไดไฮดรอกซี-4’-เมทอกซีชาล
             รูปไข่กลับหรือรูปขอบขนานกว้าง ยาว 2.5-3.5 เซนติเมตร   โคน (2’,6’-dihydroxy-4’-methoxychalcone),

             โค้งเว้าเข้าใน ขอบหยิกงอเล็กน้อย ปลายผาย มีสีชมพู  5,7-ไดเมทอกซีเฟลโวน (5,7-dimethoxyflavone)
             หรือสีม่วงแดงเป็นเส้น ๆ อยู่เกือบทั้งกลีบ เกสรเพศ  ตลอดจนอนุพันธ์ของกลุ่มเฟลโวนอยด์ (flavonoids)
             ผู้สมบูรณ์มี 1 อัน ก้านชูอับเรณูสั้นและหุ้มก้านชูยอด  กลุ่มชาลโคน (chalcones) และเฟลโวน (flavone)

             เกสรเพศเมีย สันอับเรณูพับกลับ ปลายเว้าตื้น รังไข่  อื่น ๆ อีกหลายชนิด [1-2,4-5]
             ใต้วงกลีบ รูปขอบขนาน มี 3 ช่อง แต่ละช่องมีออวุล     ข้อบ่งใช้ -
             จำานวนมาก ผล แบบผลแห้งแตก เมล็ด สีดำา เยื่อหุ้ม     ตำาราสรรพคุณยาไทยว่า กระชายมีรสเผ็ดร้อน

             เมล็ดจักเป็นครุย [1-3]                      ขม แก้ปวดมวนในท้อง แก้ชัก แก้ท้องอืดท้องเฟ้อ
                 ถิ่นกำาเนิดและการกระจายพันธุ์           บำารุงกำาลัง บำารุงกำาหนัด เป็นต้น [1,4,6-7]

                 พืชชนิดนี้มีเขตการกระจายพันธุ์ในประเทศ      ข้อมูลจากการศึกษาทางพรีคลินิกพบว่าสาร
             อินเดีย สาธารณรัฐประชาชนจีน และแถบเอเชียเขต  สกัดกระชายแสดงฤทธิ์ต้านแบคทีเรีย  และเชื้อรา
                                                                                      [8]
             ร้อน ในประเทศไทยพบได้ทั่วไป ชอบขึ้นในดินปนทราย   บางชนิด  สาร 5,7-ไดเมทอกซีเฟลโวนแสดงฤทธิ์ต้าน
                                                               [9]
             ปลูกเป็นพืชสวนครัวและปลูกเป็นพืชเศรษฐกิจ [3-4]  การอักเสบ  และฤทธิ์ลดไข้ [5]
                                                                 [5]
                 ลักษณะเครื่องยา เหง้าแห้งรูปร่างและขนาดไม่     หมายเหตุ

             แน่นอน ค่อนข้างแบน อาจพบในรูปเหง้าทั้งชิ้น หรือ     1.  ตำาราบางเล่มเรียกส่วนเหง้าว่า “กระโปก
             เหง้าที่หั่นเป็นชิ้นบาง ๆ ขนาดต่าง ๆ กัน ส่วนรากอาจ  กระชาย’’ [1,7]
             พบทั้งราก หรือที่หั่นเป็นท่อนขนาดต่าง ๆ กัน หรือ      2.  ผลการทดสอบความเป็นพิษในสัตว์ทดลอง

             อาจพบส่วนของรากติดกับส่วนของเหง้า รากแห้งที่  พบว่า กระชายและสาร 5,7-ไดเมทอกซีเฟลโวนไม่
             สมบูรณ์รูปทรงกระบอก ปลายแหลม เส้นผ่าน       ทำาให้เกิดพิษในสัตว์ทดลอง [4-5]
   209   210   211   212   213   214   215   216   217   218   219