Page 201 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 2
P. 201

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 18  No. 2  May-Aug  2020  423




            และประคบเต้านม การทับหม้อเกลือ และการพอก    ภาพและการป้องกันโรคด้วยศาสตร์การแพทย์แผน-
            เข่า สืบค้นงานวิจัยที่ได้ตีพิมพ์จากฐานข้อมูลออนไลน์  ไทยใน 5 กลุ่มวัย ประกอบด้วย 1) กลุ่มหญิงตั้งครรภ์

            ทั้งในประเทศและต่างประเทศ ได้แก่ เครือข่ายห้อง  (ใน/นอกสถานบริการ) ก่อนคลอด จำานวน 8 กิจกรรม
            สมุดประเทศไทย (Thailis), Thai Journal Online   และหลังคลอด จำานวน 44 กิจกรรม รวมทั้งสิ้น 52
            (ThaiJO), ScienceDirect, Google Scholar ที่  กิจกรรม 2) กลุ่มวัยเด็ก 0-5 ปี จำานวน 10 กิจกรรม

            ตีพิมพ์ ระหว่างปี พ.ศ. 2540 ถึง 2559 โดยสืบค้น   3) กลุ่มวัยรุ่น อายุ 15-24 ปี จำานวน 8 กิจกรรม 4) กลุ่ม
            ด้วยมือและงานวิจัยที่ไม่ได้อยู่ในฐานข้อมูลอิเล็ก-  วัยทำางาน อายุ 25-59 ปี จำานวน 18 กิจกรรม และ
            ทรอนิกส์ โดยคัดเลือกจากบทความหรืองานวิจัยที่  5) กลุ่มผู้สูงอายุ อายุ 60 ปีขึ้นไป (ในสถานบริการและ

            นำาเสนอประสิทธิผลด้านการนวดและประคบเต้านม   เยี่ยมบ้าน) จำานวน 24 กิจกรรม โดยการคำานวณต้นทุน
            การทับหม้อเกลือ และการพอกเข่า คำาสำาคัญที่ใช้ใน  รายกิจกรรม (Activity-based costing) เก็บข้อมูล
            การสืบค้นในฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ ต้นทุน,   ต้นทุนบริการส่งเสริมสุขภาพด้านการแพทย์แผนไทย

            ประสิทธิผล, การนวดและประคบเต้านม, การทับ    ประจำาปีงบประมาณ 2560 ในสถานบริการสาธารณสุข
            หม้อเกลือ, การพอกเข่า และการแพทย์แผนไทย โดย  ของกระทรวงสาธารณสุข จำานวน 4 ภาค ภาคละ 1

            ทำาการวิเคราะห์และนำาเสนอโดยการวิเคราะห์เนื้อหา   จังหวัด โดยคัดเลือกจังหวัดและสถานบริการที่เป็น
            (Content analysis)                          พื้นที่ต้นแบบดีเด่นด้านการแพทย์แผนไทยระดับภาค
                                                        รวมทั้งสิ้น 13 จังหวัด รายละเอียดดังตารางที่ 1
                        เนื้อห�ที่ทบทวน                      การให้บริการกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพและ

                 การให้บริการการแพทย์แผนไทยด้านส่ง-     ป้องกันโรคด้านการแพทย์แผนไทย ในสถานบริการ

            เสริมสุขภาพและป้องกันโรคในสถานบริการของ     สาธารณสุขของกระทรวงสาธารณสุข มีการให้บริการ
            กระทรวงสาธารณสุข และควรได้รับสิทธิประโยชน์  ด้านการแพทย์แผนไทยไม่ครบทุกกิจกรรมการให้
            บริการการแพทย์แผนไทยในระบบหลักประกัน        บริการ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับจำานวนบุคลากรของสถานบริการ

            สุขภาพแห่งชาติ เพื่อให้เกิดความครอบคลุม บทความ  และความเชี่ยวชาญของผู้ให้บริการ ดังนั้น จึงส่งผล
            เนื้อหาครอบคลุมถึง 1) การศึกษาต้นทุนงานบริการส่ง-  ต่อกิจกรรมและรูปแบบการบริการ ดังรายละเอียด
            เสริมสุขภาพ ด้านการแพทย์แผนไทย 2) ประสิทธิผล  ตารางที่ 2 ประกอบด้วย 1) กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และ

            กิจกรรมการแพทย์แผนไทย 3) ข้อเสนอแนะการ      หลังคลอด ในช่วงก่อนคลอด จำานวน 4 กิจกรรม และ
            พัฒนาชุดสิทธิประโยชน์ บทวิจารณ์ และข้อสรุป ดังนี้  หลังคลอด (ใน/นอกสถานบริการ) จำานวน 4 กิจกรรม
                                                        2) กลุ่มเด็ก อายุ 0-5 ปี จำานวน 4 กิจกรรม 3) กลุ่ม
            1. ก�รศึกษ�ต้นทุนง�นบริก�รส่งเสริมสุขภ�พ    วัยรุ่น อายุ 15-24 ปี จำานวน 3 กิจกรรม 4) กลุ่มวัย
            ด้�นก�รแพทย์แผนไทย                          ทำางาน อายุ 25-59 ปี จำานวน 6 กิจกรรม และ 5) กลุ่ม


                 การศึกษาต้นทุนต่อหน่วยงานบริการส่งเสริม   ผู้สูงอายุ อายุ 60 ปีขึ้นไป (ในสถานบริการและเยี่ยม
            สุขภาพด้านการแพทย์แผนไทย มีวัตถุประสงค์เพื่อ  บ้าน) จำานวน 6 กิจกรรม โดยต้นทุนต่อหน่วยราย
            วิเคราะห์ข้อมูลต้นทุนกิจกรรมการบริการส่งเสริมสุข  กิจกรรม การส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคด้านการ
   196   197   198   199   200   201   202   203   204   205   206