Page 232 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 3
P. 232

582 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 17  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2562




                หลังจากบวชนานราว 19 พรรษา ขณะนั้นพระเสริฐ   กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554 เพื่อให้ท่านมีศักดิ์และสิทธิ์ใน
           อายุได้ 44 ปีแล้วท่านเห็นว่าทางบ้านมีความลำาบาก  การบำาบัดรักษาผู้ป่วยตามภูมิปัญญาแพทย์พื้นบ้านได้

           เนื่องจากไม่มีใครช่วยทำางานให้โยมพ่อแม่ซึ่งสูงอายุ  ถูกต้องตามกฎหมายสืบไป
           แล้ว ในฐานะลูกชายคนโต ท่านจึงลาสิกขาออกมา
           ช่วยพ่อแม่ทำาสวนทำานาและเป็นหมอรักษาคนไข้ตาม  บริก�รรักษ�โรคของพ่อหมอเสริฐ ข�วอรุณ
                                   ่
           ประสบการณ์และความรู้ที่ได้รำาเรียนมาอย่างทุ่มเท     กรณีตัวอย่างการรักษากระดูกพิการ
           เต็มที่ จนมีคนไข้มารับบริการรักษา เป็นที่พอใจทุก     การรักษากระดูกเป็นหัตถการที่พ่อหมอเสริฐมี
           ราย จึงบอกเล่ากันปากต่อปาก มีคนไข้มารับการรักษา  ความเชี่ยวชาญเป็นพิเศษมาตั้งแต่ครั้งเป็นศิษย์หนุ่ม

           มากขึ้นเรื่อย ๆ จากวันละ 2-3 คน จนปัจจุบันเฉลี่ยวัน  ในสำานักพ่อเฒ่าแดงยาว เครื่องใช้ในการรักษา
           ละ 25-30 คน                                 นอกจากของตั้งค่าราดยกครูแล้ว ยังมีอุปกรณ์รักษา
                                                       กระดูกง่าย ๆ คือ เส้นเชือกวัดแนวกระดูกสันหลัง
           หมอขวัญใจคนจน : 32 บ�ทรักษ�ทุกโรค           คนไข้ (ซึ่งเป็นมรดกตกทอดจากพ่อเฒ่าแดงยาว)

                คนไข้ไม่ว่ายากดีมีจน เมื่อมารักษากับพ่อหมอ  เฝือกไม้ไผ่ขนาดต่าง ๆ ผ้าขาว เข็มกลัด และที่ขาดไม่

           เสริฐเป็นครั้งแรกต้องนำา ดอกไม้ ธูป เทียน หมาก   ได้คือนำ้ามันสมุนไพร
           พลู มาเองเพื่อทำาพิธีไหว้ครูพร้อมกับค่าตั้งราช (ค่า      ขั้นตอนการรักษา เริ่มจากการบูชาครู เอ่ยบอก
           ยกครู) ตามธรรมเนียม 32 บาท เท่านั้น ซึ่งเป็นเคล็ด  ชื่อครูบาอาจารย์ทั้งหมดในสายพ่อหมอเสริฐ จากนั้น

           หมายถึงการรักษาครอบคลุมอาการ 32 (อันเป็นธาตุ  จึงทำาการวิเคราะห์คนไข้ด้วยการดู คลำาและซักประวัติ
           โครงสร้างสำาคัญของร่างกายประกอบด้วยธาตุดิน 20   ผู้ป่วย เพื่อหาสาเหตุและวินิจฉัยว่ากระดูกหัก แตก
                   ้
           บวกธาตุนำา 12) ซึ่งต่างกับค่ายกครูโดยทั่วไปที่มัก  ร้าว หลุด หรือคดผิดรูป ถ้าเป็นกรณีที่สามารถรักษา
           กำาหนดตัวเลขไว้ที่ 6 บาทหรือ 12 บาท บางครั้งคนไข้  ได้ เช่นกระดูกหัก จะเริ่มจากการจัดกระดูกที่หักให้ขบ
           ไม่มีเครื่องตั้งราชไหว้ครูมาให้ พ่อหมอก็จะตั้งให้เอง   ติดกัน พร้อมเสกเป่าคาถา จากนั้นทานำ้ามันสมุนไพร

           เงินค่าราดที่ได้รับพ่อหมอจะนำาไปทำาบุญทั้งหมด แม้  ทั่วบริเวณที่กระดูกหัก แล้วนำาผ้าขาวมาพันรอบไว้ รัด
           มีคนไข้บางรายประสงค์จะสมณาคุณเพิ่มเติม ท่านก็  ติดด้วยเข็มกลัด เลือกเฝือกไม้ไผ่ขนาดที่เหมาะนำามา
           จะถามว่าเงินนี้หยิบยืมมาหรือไม่ ถ้าเป็นเงินยืมมาท่าน  ประกบรอบผ้าขาวให้กระชับ จากนั้นจึงชุบนำ้ามัน

           จะคืนไป หรือถ้าเป็นเงินของคนไข้เองหากมากเกินไป
           ท่านจะไม่รับ แต่ถ้าเป็นจำานวนเล็กน้อยท่านจะรับไว้
           เพื่อทำาบุญให้คนไข้ต่อไป

                ด้วยจรรยาแพทย์อันงดงามและจิตใจอัน
           ประเสริฐดังหมอพ่อพระที่ปฏิบัติหน้าที่เยียวยารักษา

           ผู้ป่วยมายาวนานกว่า 50 ปี กระทรวงสาธารณสุขจึง
           พิจารณามอบใบประกอบโรคศิลปะ สาขาเวชกรรมไทย
           ประเภท (ค) แก่พ่อหมอเสริฐ ขาวอรุณ เมื่อวันที่ 21      ภาพที่ 2 ขณะรักษาผู้ป่วย
   227   228   229   230   231   232   233   234   235   236   237