Page 234 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 3
P. 234

584 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 17  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2562




           หลวงเป็นเกณฑ์เหมือนกันว่า กระดูกจะหักตรงไหน
           บางทีคนไข้ก็ไปถ่ายเอ็กซเรย์มา พ่อก็ต้องเอาฟิล์ม

           เอ็กซเรย์มาดูว่า กระดูกหักอย่างไร หักเป็นรูปพรรณ
           สันฐานอย่างไร หักแบบปลายพร้า (ลักษณะมีดของ
           ชาวใต้ ปลายมีดงอโค้งลงเป็นจะงอย) หรือหักเป็นปาง

           (ลักษณะเป็นง่าม) หรือหักแตกร้าว แล้วสะเก็ดกระดูก
           มันกระจาย เป็นอย่างไร อยู่ตรงไหนกี่แห่ง เพราะผม
           ใช้วิธีคลำา บางทีอาจจะถนัดหรือไม่ถนัด บางทีอาจจะ     ภาพที่ 3 สูตรน�้ามันสมุนไพร

           พลาดพลั้ง เมื่อเราต่อแล้วอาจจะไม่สมบูรณ์ตามแบบ
           ผมนี่แหละที่จะเป็นคนเสียชื่อ ถ้าหักในกระดูกข้อมา   การอักเสบ
           พ่อหมอเสริฐจะต้องส่งให้หมอหลวง ให้โรงพยาบาล       -หัวข้าวเย็นใต้ ช่วยระงับความร้อนจากการ

           เขาผ่าเอากระดูกอันที่หักออกมา แล้วเอากระดูกเทียม  อักเสบ
           ใส่ พ่อหมอเสริฐเห็นว่า “หมอ (โรงพยาบาล) เขามี       -ย่านเอ็นแดง (เถาเอ็นอ่อน) ช่วยรักษาเส้น

           ปัญญามากกว่าผม เพราะเขาเรียนจบมา ผมนี่อยู่แบบ  เอ็นให้สมบูรณ์แข็งแรง
           นี้นิ จบชั้น ป.4 เท่านั้น’’                       -ครั่งเป็น (ยางสีแดงจากตัวครั่งเป็น ๆ) ช่วย
                                                                       ้
                ทุกวันนี้หากใครไปเยี่ยมเยือนเรือนพยาบาลของ  ป้องกันผิวหนังไม่ให้ชำาบวม ช่วยบำารุงผิว
           หมอพ่อพระท่านนี้ สิ่งที่สะดุดตาก็คือ ไม้คำ้ายันช่วย       -ครั่งติด (พญาไร้ใบ) ช่วยขับลมในเส้นเอ็น
           เดินที่กองพะเนินเทินทึกอยู่เป็นประจักษ์พยานว่า        -ต้นหญ้าปราบ (โด่ไม่รู้ล้ม) ช่วยผลักดันให้

           ผู้ป่วยกระดูกหักจำานวนมากที่มารักษาตัวกับท่านได้  เลือดลมไหลเวียนสะดวกขึ้น
           รอดพ้นจากความพิการสามารถกลับไปใช้ชีวิตเดินเหิน       -ต้นคดนกคูด (เฟิร์นใบมะขาม) ช่วยลดการ
           ได้ปกติ ไม่ต้องพึ่งไม้คำ้ายันอีกต่อไป จึงทิ้งไว้บ้านหมอ  อักเสบของพังผืดที่หุ้มกระดูก อันเนื่องจากการบีบ

           เป็นอนุสรณ์เป็นกำาลังใจแก่ผู้มารักษารายต่อไป  นวด
                                                           วิธีทำา นำาสมุนไพรสดทั้งหมด มีนำ้าหนักอย่างละ
           ภูมิปัญญ�กับก�รรักษ�แบบพื้นบ้�น             เท่า ๆ กัน (เสมอภาค) หรืออย่างละหนึ่งกำามือ มาหั่น

                        ้
                1.  สูตรนำามันสมุนไพรที่ใช้ในการรักษา  เป็นชิ้นเล็ก ๆ ล้างให้สะอาด นำาไปเคี่ยวกับนำ้ามัน
           กระดูกและเส้นเอ็น                           มะพร้าวให้ท่วมยา เคี่ยวจนกว่านำ้ามันไม่มีไอระเหย
                (1) นำ้ามันนวดเอ็น ประกอบด้วยสมุนไพรสด  แล้ว จึงยกลง ทิ้งไว้ให้เย็นแล้วกรองใส่ขวด

           ดังนี้                                          (2) นำ้ามันต่อกระดูก ประกอบด้วยนำ้ามัน 3 ชนิด
                  -ผลส้มแขก ช่วยทำาให้เอ็นหย่อนลง      คือ

                  -กิ่งลั่นทม (ใช้ดอกสีใดก็ได้) ช่วยลดอาการ       -นำ้ามันโครำา หรือกูรำา (ภาษาใต้หมายถึง
            ้
           ชำาบวมจากการนวด                             นำ้ามันเลียงผา) ช่วยให้เนื้อกระดูกงอกและประสานกัน
                  -หัวข้าวเย็นเหนือ ช่วยระงับความร้อนจาก  เร็วขึ้น
   229   230   231   232   233   234   235   236   237   238   239