Page 236 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 3
P. 236
586 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 17 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2562
ฟ้า หัวงอ (ว่านนำ้า) ต้นแฝกหอม อัตราส่วนที่ใช้ เสมอ ใบกระท่อมที่เคี้ยวลงบนบริเวณที่เป็นเริม 3 ครั้ง ทำาวัน
ภาค ก้านสะเดา 32 ก้าน เม็ดพริกไทยเท่าอายุ กลีบ ละหนึ่งครั้ง ติดต่อกัน 2-3 วัน แล้วเริมจะแห้งลง
กระเทียมเท่าอายุ ดีเกลือ เกลือสินเธาว์ กระดูกควาย 6. ตำารับยาหยอดตา รักษาตาต้อ ได้แก่
ขาว ต้อเนื้อ ต้อหิน ต้อกระจก ต้อลม เป็นต้น
วิธีทำา นำาตัวยาทั้งหมดต้มด้วยนำ้าท่วมยา วิธีกิน สมุนไพรในตำารับประกอบด้วย หญ้าใต้ใบ ตำา
ก่อนอาหารประมาณ 20 นาที ครั้งแรก ๆ ให้กินครั้งละ ให้แตก ลูกบวบกลางหาว (ผลต้นกะเรกะร่อน กล้วยไม้
ครึ่งแก้ว ก่อนอาหาร วันละ 3 เวลาเนื่องจากยามีความ ชนิดหนึ่ง) นำามาย่างไฟให้เหี่ยว อัตราส่วนเท่ากันทั้ง 2
เข้มข้นมาก เมื่อนำ้ายาเจือจางลง ให้กินครั้งละเต็มแก้ว อย่าง นำ้าฝนกลางหาว (นำ้าฝนที่ได้จากการนำาภาชนะไป
3. ตำารับยาสตรี เป็นยาสำาหรับสตรีที่มีความ รองในที่โล่งแจ้ง ไม่สามารถใช้นำ้าฝนที่ตกมาจาก
ผิดปกติของโลหิตระดูซึ่งทำาให้เกิดอาการผิดปกติอื่น หลังคาได้เนื่องจากอาจจะไม่สะอาด) ใช้เป็นนำ้า
ตามมา เช่น ปวดท้อง ปวดศีรษะ เป็นลม เป็นต้น กระสาย และพิมเสน
สมุนไพรในตำารับ ประกอบด้วย ต้นผักเป็ด ให้นำาหญ้าใต้ใบที่ตำาแล้วผสมกับลูกบวบกลาง
แดง ต้นหญ้าพันงูแดง สามเดือนดอกแดง (บานไม่รู้ หาว ผสมนำ้าฝนกลางหาวเป็นนำ้ากระสาย คั้นเอาเฉพาะ
โรยดอกแดง) สามเดือนดอกขาว (บานไม่รู้โรยดอก นำ้า แล้วจึงหยิบพิมเสนลงไปพอประมาณ นำามาหยอด
ขาว) เถาวัลย์เปรียง ต้นไผ่ล้า (ไผ่เลื้อยหรือไผ่คลาน) ตาที่มีอาการของตาต้อต่าง ๆ ควบคู่กับพิธีกรรมการ
เถาขมิ้นฤาษี (ขมิ้นเครือ) เปลือกยางนา เถาสมุนแว้ง รักษาตาต้อ
(เป็นเถา ไม่ใช่สมุลแว้ง ไม่สามารถระบุชื่อสามัญได้) 7. การรักษารวด (ภาษาใต้หมายถึงปรวด)
ต้นกำาจัด หัวแห้วหมู ต้นช้าพลู ดีปลี รากเจตมูลเพลิง สมุนไพรในตำารับประกอบด้วย หนังวัว คราบ
รากยวงหนุน (เนื้อไม้สีเหมือนแก่นขนุน ยังไม่สามารถ งูเห่า หัวหนอนตายอยาก ลูกลำาโพง ต้นทองพันชั่ง เจต
ระบุชื่อสามัญได้) ลูกจันทน์เทศ (เอาผล รก ดอก) มูลเพลิง หัวกรุงเขมา พริกไทย แก่นฝาง แก่นแหร (ต้น
สมุนไพรทุกตัวใช้เสมอภาคกัน นำามาต้ม รับ สแร) กระเทียม หมึกดำา (หมึกจีนเป็นแท่ง) หัวหมาก
ประทานครั้งละครึ่งแก้ว เช้าและเย็น ก่อนอาหารอย่าง หมก ต้นโคกกระสุน ต้นคดนกคูด (เฟิร์นใบมะขาม)
น้อย 20 นาที
4. ตำารับยากวาดซาง
สมุนไพรในตำารับ ประกอบด้วย เปลือกมะนาว
ตากแห้ง ว่านกีบแรด ลูกสมอเหลี่ยม (สมอไทย) ทุก
ตัวใช้เสมอภาคกัน นำามาบดผง แล้วละลายด้วยน้ำา
้
มะกรูดหรือนำามะนาว ใช้นิ้วป้ายยาแล้วนำาไปกวาดที่
โคนลิ้นและใต้ลิ้นเด็กที่เป็นซาง
5. สมุนไพรปัดเริม ใช้ใบกระท่อมไม่เกิน 5 ใบ
(อาจใช้ใบตะขบนา ใบกระท้อน หรือใบหว้าก็ได้) เคี้ยว
ให้แหลก พร้อมท่องบดสวด บทอิติปิโส 8 ทิศ แล้วพ่น ภาพที่ 4 ยาสมุนไพรรักษารวดหรือปรวด